แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย (แบบเก่า) รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 2. 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 คุณลักษณะการปฏิบัติงาน การวางแผนและการจัดระบบงาน (ความมีวิสัยทัศน์ความสามารถในการคาดการณ์กำหนดเป้าหมาย และวิธีปฏิบัติงานให้เหมาะสม) คุณภาพของผลงาน (พิจารณาจากความถูกต้อง ความครบถ้วน ความสมบูรณ์ และความประณีต หรือคุณภาพอื่นๆ) ความทันเวลา (พิจารณาจากเวลาที่ใช้ปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเวลาที่กำหนดไว้สำหรับการปฏิบัติงานหรือภารกิจนั้น) การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร (พิจารณาจากความฟุ่มเฟือยในการใช้ ทรัพยากรหรือความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้กับผลผลิตของงานหรือโครงการ) ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ (พิจารณาจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ของผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของงาน) องค์ประกอบอื่นๆ (เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมในแต่ละหน่วยงานที่จะกำหนดผลงานร่วมกัน) รวมคะแนนด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน 60 คะแนนรวม 1 + 2 200 การกำหนดคะแนน เพื่อให้ระดับผลงานไม่มีเกณฑ์ความหมายที่แน่ชัด จึงอาจทำให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจ โดยขาดมาตรฐาน
ครั้งที่ 1 ( 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ของปีถัดไป ) ตัวอย่างแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย (แบบเก่า) 1.2 สรุปผลการประเมิน คะแนน ผลการประเมินดีเด่น ผลการประเมินเป็นที่ยอมรับได้ ผลการประเมินต้องปรับปรุง ( 90 – 100%) ( 60 – 89%) ( ต่ำกว่า 60 %) ครั้งที่ 1 ................. ( ) ( ) ( ) ครั้งที่ 2 ................. ( ) ( ) ( ) ตอนที่ 2 ความเห็นของผู้ประเมินชั้นต้นเกี่ยวกับการพัฒนา การเลื่อนขั้นเงินเดือน และอื่นๆ 2.1 ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนา ฝึกอบรมและการแก้ไขการปฏิบัติงาน (ระบุความถนัด จุดเด่นและสิ่งที่ควรพัฒนาของผู้รับการประเมิน) ครั้งที่ 1 ( 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ของปีถัดไป ) ครั้งที่ 2 ( 1 เม.ย. - 30 ก.ย. )
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ลักษณะของแบบประเมินแบบเก่า การประเมินใช้ความรู้สึกมาก ทำให้อาจมีปัญหาต่อความเที่ยงตรงในการประเมิน ไม่มีการเชื่อมต่อปัจจัยในการประเมินกับกลยุทธ์ขององค์กร การกำหนดคะแนน เพื่อให้ระดับผลงานไม่มีเกณฑ์ความหมายที่แน่ชัด จึงอาจทำให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจ โดยขาดมาตรฐาน ยังไม่มีการนำผลการปฏิบัติงานไปใช้ ในการบริหารงานบุคคลด้านอื่น
แนวทางการปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน สิ่งที่ประเมินต้องสนับสนุนต่อกลยุทธ์องค์กร ระบบต้องจัดเก็บข้อเท็จจริงจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลยพินิจที่ถูกต้องในการประเมิน ผลจากการประเมินต้องแยกแยะผลงานของบุคลากรได้ นำไปใช้ในระบบบริหารงานบุคคลอื่นๆ ต่อไป ง่ายต่อการใช้งานของผู้บังคับบัญชาหน่วยงานต่างๆ
Process ของการประเมิน ผู้บริหารของแต่ละสำนัก HR หัวหน้างานฝ่าย หัวหน้างาน พนักงาน รับนโยบาย และ วางแผนงานของฝ่าย ในด้านปริมาณงาน กำหนดระยะเวลาทำงานและหน่วยงานที่รับผิดชอบ รับแผนงานจากฝ่าย กำหนดแผนงานและเป้าหมาย กระจายงานไปยังพนักงานที่รับผิดชอบ Coaching ระหว่างที่ปฏิบัติงาน ปฎิบัติงาน ประเมินการปฏิบัติงานของพนักงาน ประเมินผลงานของตัวเอง อนุมัติผลการประเมิน รวบรวมเอกสารประเมินเสนอผู้บริหารสำนัก พิจารณาผลการประเมิน Performance Feedback และหัวข้อการพัฒนา เลื่อนขั้นเงินเดือน/ วางแผนพัฒนาความสามารถ ปรับขั้นเงินเดือน/อบรมเพื่อพัฒนา รอบของการประเมินที่ 1 ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกปี รอบของการประเมินที่ 2 ภายในวันที่ 30 เมษายน ของทุกปี
แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 1 การประเมินผลงาน ตามแผนงาน ส่วนที่ 2 การประเมินผลงาน ตามงานประจำ
แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 3 การประเมินขีดความ สามารถหลัก ส่วนที่ 4 เป้าหมายการพัฒนา ตนเอง
แบบฟอร์มการประเมินผลงาน บุคลากรระดับ 4 ขึ้นไป ส่วนที่ 5 สรุปคะแนน ส่วนที่ 6 การบันทีกประวัติ การลา ส่วนที่ 7 สรุปผลการประเมิน