บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
Advertisements

แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
บทที่ 2 การพูดในที่ชุมนุมชน
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ต้องโปสเตอร์แบบไหน จึง “ได้” และ “โดน” ใจคนดู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
‘คน’ และ ‘คน’ มีดีไซน์ ‘สังเกต’ แทรกดีไซน์ ‘ทีม’ คิดสู่ดีไซน์
เทคนิคการประชาสัมพันธ์
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
 การสอนแบบอภิปราย.
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสร้างงานกราฟิก.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
บทบาท หน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวกข้องกับการสัมมนา
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
การทำงานอย่างมีความสุข
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
บทนำ บทที่ 1.
ความดีเด่นของสถานศึกษา
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความคาดหวังต่อผู้บังคับบัญชา
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
Photovoice.
Participation : Road to Success
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ฉากและบรรยากาศ.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ความสำคัญของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ความหมายของการวิจารณ์
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
ความใหม่ การจัดทำเพชรนำพา เป็นการนำหลักชลศาสตร์ มาเพื่อใช้ในการวัดความเร็วของกระแสน้ำ เพื่อใช้ในงานชลประทาน.
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
ความเป็นครู.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)

นิยาม วิชานาฏยหัตถกรรม คือ วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาออกแบบประดิษฐ์และสร้างสรรค์สื่อและอุปกรณ์ประกอบการแสดงด้านนาฏยศิลป์รวมทั้งศิลปะการแสดงแขนงต่างๆ เพื่อช่วยให้การแสดงมีความสวยงาม สมจริง ถ่ายทอดความหมายตามลักษณะบทละครและรูปแบบการแสดงแขนงนั้นๆ

บทบาทของผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏยหัตถกรรม 1 สื่อสารความหมายของการแสดงรูปแบบต่างๆ อาทิ การช่วยสื่อความหมายของบทละคร นำสารของผู้กำกับการแสดงไปสู่ผู้ชม โดยสะท้อนลักษณะบุคลิกตัวละคร เวลา สถานที่ บรรยากาศ สถานการณ์แวดล้อมที่ตัวละครกำลังเผชิญผ่านลงบน รูปแบบและลักษณะของผลงานนาฎยหัตถกรรม 2 ทำหน้าที่ผลิตผลงานที่เป็นองค์ประกอบเสริมการแสดงบนเวทีให้เกิดความน่าสนใจ เช่น การทำงานร่วมกับนักออกแบบเพื่อผลิตฉาก อุปกรณ์ประกอบฉากและเครื่องแต่งกายการแสดงที่มีความสวยงาม มีความหมายทางสัญลักษณ์ ดึงดูดให้ผู้ชมติดตามการแสดงอยู่ตลอดเวลา เสริมให้การแสดงนั้นๆมีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นที่จดจำ 3 ทำหน้าที่ผลิตอุปกรณ์ให้นักแสดงใช้ประโยชน์ในการแสดง เอื้อให้นักแสดงสามารถหาวิธีใช้อุปกรณ์เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสรรค์การแสดงที่สามารถเข้าถึงผู้ชมได้ง่ายและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น

คุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ฝ่ายนาฏหัตถกรรม 1 มีความรอบรู้และใฝ่รู้ในศาสตร์ศิลปะการแสดงและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2 มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ 3 มีความประณีต ระเอียดรอบคอบในการผลิตและสร้างสรรค์ผลงาน 4 มีวินัยในการปฏิบัติงาน อดทนและรับผิดชอบหน้าที่ในการผลิตผลงานจนสำเร็จออกมาเป็นรูปธรรม 5 มีโลกทัศนคติในการทำงานเปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้ร่วมงานฝ่ายต่างๆ

ประเด็นความรู้ที่เกี่ยวข้องในการศึกษานาฏหัตถกรรม ได้แก่ ความรู้ด้านลักษณะเวที, โรงละคร, ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก, เสื้อผ้า, แสง, หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน