เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการผ่อนคลายความเครียด
Advertisements

ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
โรคสมาธิสั้น.
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
การศึกษารายกรณี.
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
RECRUITMENT.
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
เรารับใช้ชาติ ด้วยการเป็นทหารเรือ.
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
การสื่อสารเพื่อการบริการ
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
กิจกรรมนันทนาการ.
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
สุขภาพจิต และการปรับตัว
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
Personality Development
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
( Human Relationships )
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
ความหมายของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ การศึกษาตนเองและผู้อื่น เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์

การศึกษาบุคคลด้วยวิธีธรรมชาติ เป็นการสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออกของคน - จากใบหน้าของบุคคล - สังเกตจากแววตา ดวงตา - กริยา ท่าทางของบุคคล - เจตนารมณ์ของบุคคล

การศึกษาบุคคลด้วยหลักวิทฯ การแพทย์ เป็นการศึกษาโดยอาศัยเครื่องมือทางการแพทย์ เพื่อดู ความผิดปกติทางร่างกาย - ความพิการและการเจ็บป่วยเรื้อรัง - ความผิดปกติทางสมอง - โรคจิต โรคประสาท - ความบกพร่องทางจิตใจ จากสภาพแวดล้อม

1.พฤติกรรมของคนที่เป็นโรคจิต หรือโรคประสาท หรือจากความบกพร่องทางจิต - บุคลิกภาพแปรปรวน แสดงพฤติกรรมแปลกๆ พูดปด ขโมย เล่นการพนัน ติดยา หนีงาน - มีปมด้อย ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก - B เหมือนเด็ก ขี้อ้อน ร้องให้ โวยวายเมื่อแก้ ปัญหาไม่ได้ ต้องมีเพื่อนตลอดเวลา - ก้าวร้าว หนีสังคม ชอบทำร้ายผู้อื่น โต้ตอบ รุนแรง เกลียดชังรุนแรง

- อารมณ์ไม่มั่นคง ชอบอวดอ้าง มีความชอบ ที่ผิดปกติจากบุคคลทั่วไป 2.โรคประสาท - วิตกกังวล อาจจะแสดงออกทางกาย เช่น ปวดท้อง ไม่มีสาเหตุ ใจเต้นแรง หอบ อาเจียน - ควบคุมการกระทำไม่ได้ ย้ำคิดย้ำทำ หวาดกลัว ไม่มีเหตุผล - เหนื่อยอ่อนตลอดเวลา

การศึกษาบุคคลด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ - ต่อมเพศ ถ้าผลิตฮอร์โมนน้อย จะทำให่ ง่วงเหงา หาวนอน เหนื่อยอ่อน ไม่สดชื่น มีผลต่อการสร้าง มนุษยสัมพันธ์ การศึกษาบุคคลด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาทั้งพฤติกรรมภายใน ความคิด ความรู้สึก ความจำ การรับรู้ อารมณ์ และจากพฤติกรรมภายนอก

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ - การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม แบบ ทดสอบ 1.การสังเกต - จากพฤติกรรมบุคคล ร่วมกับสภาพ สวล. - ดูพฤติกรรมที่แสดงออกชัดเจน - ควรใช้ผู้สังเกตหลายๆ คน - มีจุดมุ่งหมายในการสังเกต - จด บันทึกไว้

พฤติกรรมที่ควรสังเกตเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ - สีหน้า แววตา พอใจ ไม่พอใจ ดีใจ โกรธ - กิริยา ท่าทาง พอใจ ยกย่อง ดูถูก เคารพ - B ที่ผิดปกติ พูดติดขัด ติดอ่าง หาวนอนบ่อย พฤติกรรมที่เกิดขึ้นทันทีทันใด - การปรับตัวของบุคคล เมื่ออยู่ในสถานการณ์บางอย่าง - การพูดจาและน้ำเสียง คงที่ หรือเปลี่ยนไป - อื่นๆ

2.การสัมภาษณ์หรือซักถาม - ข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละบุคคล - ความรู้สึก ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม - ซักถามเพื่อศึกษาตนเอง ข้อดี ข้อบกพร่อง - เพื่อศึกษาผู้อื่น - สิ่งที่ควรพิจารณาในการซักถาม สถานที่ ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน มารยาท (ไม่ควรล้ำเรื่องส่วนตัว)

3.การใช้แบบวัดและแบบทดสอบ การศึกษาบุคคลด้วยทฤษฎีทางจิตวิทยา - ทฤษฎีหน้าต่างโจฮารี่ - ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ B แบบพ่อแม่ แบบผู้ใหญ่ แบบเด็ก - ทฤษฎีการเรียนรู้ - ทฤษฎีมนุษยนิยม - ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ID ego superego

การศึกษาบุคคลจากประวัติและผลงาน - พ่อแม่และบรรพบุรุษ กรรมพันธุ์ การอบรม - ลักษณะทางสรีระและสุขภาพจิต - ลำดับการเกิด - ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม สภาพครอบครัว ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ฐานะทางเศรษฐกิจ และทางสังคม - การอบรมเลี้ยงดู - ประสบการณ์ด้านวัฒนธรรม ประเพณี

- ความสำเร็จและความล้มเหลว - การยอมรับของสังคม (ครอบครัว โรงเรียน องค์การ เพื่อน เจ้านาย บุคคลอื่นๆ) การศึกษาบุคคลจากการทำงานร่วมกัน - บุคลิกภาพ - พฤติกรรมที่แสดงออก รู้ตัว ไม่รู้ตัว - อารมณ์ - ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม