แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การเงินการคลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๑. ระบบข้อมูลของปีเดิม  เริ่มระบบเมื่อเดือนเมษายน  ผลการส่งข้อมูล (เดือน กรกฎาคม) ผลการส่งข้อมูล  งบหน่วยงาน ๙๕%  งบลูกข่าย.
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
การบริหารการเงินการคลัง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.รบ.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
องค์ความรู้ในกระบวนการพัฒนา ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (ระบบการลา)
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
สถานภาพกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 9 /2551 วันที่ 30 กันยายน 2551.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551 แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551 โดย นายแพทย์อำนวย กาจีนะ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงด้านเวชกรรมป้องกัน ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการกลุ่มประกันสุขภาพ

กลุ่มประกันสุขภาพ เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานด้านประกันสุขภาพ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพและได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม โดยมีกลยุทธ์ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขคือ พัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบบริการด้านสุขภาพให้มีคุณภาพ มาตรฐานในระบบหลักประกันสุขภาพ ซึ่งกลุ่มประกันสุขภาพ ได้กำหนดกลยุทธ์ของหน่วยงานคือ 1. พัฒนาระบบและกลไกการจัดการระบบประกันสุขภาพ 2. พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการข้อมูลการเงินการคลังสุขภาพ ซึ่งในการดำเนินการของกลุ่มประกันสุขภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายได้นั้น จะต้องมีกลไกในการจัดการที่เกี่ยวข้องกันระหว่างหน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ซึ่งหน่วยงานในส่วนภูมิภาคที่เป็นแกนหลักในการดำเนินงานในเรื่องนี้คือกลุ่มงานประกันสุขภาพของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานในส่วนกลางคือกลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในการดำเนินการในรายละเอียดของแต่ละกิจกรรมโดยสรุปคือ

การพัฒนาระบบและกลไกการจัดการ ระบบประกันสุขภาพ การพัฒนาระบบและกลไกการจัดการระบบประกันสุขภาพ กลุ่มประกันสุขภาพมีดำเนินการดังนี้

มีการประชุมในรูปแบบของคณะกรรมการฯเพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย 1. พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการดำเนินงานสำหรับเครือข่ายหน่วยบริการสังกัด สป. มีการประชุมในรูปแบบของคณะกรรมการฯเพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย * คณะกรรมการบริหารและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข * คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ระดับเขต * คณะกรรมการพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดการเงินการคลังสาธารณสุข 1. พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการดำเนินงานสำหรับเครือข่ายหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการแต่งตั้งคณะกรรมการฯดำเนินการในแต่ละด้าน เพื่อพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย คือ * คณะกรรมการบริหารและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข มี รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานประกันสุขภาพ เป็นประธาน มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณากำหนดกรอบแนวทางการบริหารจัดการและการดำเนินงานโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการประกันสังคม การประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว และการประกันสุขภาพในระบบอื่นๆในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข * คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ระดับเขต โดยมี สาธารณสุขนิเทศก์ เป็นประธาน มีหน้าที่ในการพัฒนากลไกการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังในระดับเขตรวมทั้งติดตามวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังของหน่วยบริการในพื้นที่รับผิดชอบ * คณะกรรมการพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดการเงินการคลังสาธารณสุข โดยมี นายแพทย์นิพนธ์ โตวิวัฒน์ เป็นประธาน มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินและจัดทำดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข โดยจัดทำดัชนีชี้วัดผลการดำเนินงาน ดัชนีผลลัพธ์ของการให้บริการ ดัชนีด้านประสิทธิภาพและการเข้าถึงบริการ

2. ศึกษาระบบการจัดการด้านการคลังสุขภาพของ สป. โครงการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของงานบริการ การศึกษาระบบการจัดการด้านการคลังสุขภาพของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. ศึกษาระบบการจัดการด้านการคลังสุขภาพของ สป. โครงการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของงานบริการ โดยการวิเคราะห์ต้นทุนที่สำคัญในการบริหารจัดการหน่วยบริการ วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานและข้อมูลกิจกรรมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการประเมินผลและวางแผนในการจัดสรรทรัพยากรให้กับหน่วยบริการ 2. การศึกษาระบบการจัดการด้านการคลังสุขภาพของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการแต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการศึกษาระบบการจัดการด้านการคลังสุขภาพของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งผลการศึกษาที่ได้จะนำไปใช้ในการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการจัดการระบบการคลังสุขภาพของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัด สป. ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานด้านประกันสุขภาพของหน่วยงานในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานประกันสังคม สปสช. ฯลฯ แต่งตั้งผู้ประสานงานเขตกลุ่มประกันสุขภาพ จัดทำจดหมายข่าว * ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานด้านประกันสุขภาพของหน่วยงานในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานประกันสังคม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฯลฯ เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 เช่น คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง คณะอนุกรรมการงบลงทุนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองกรณีอุทธรณ์ ประสานกับ กลุ่มกฎหมาย กรมบัญชีกลาง สำนักงานประกันสังคม ในการประมวลข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศที่เกี่ยวข้องกับงานประกันสังคมเพื่อจัดทำประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินรายรับของสถานพยาบาลที่ได้รับตามโครงการประกันสังคม พ.ศ.2551 แต่งตั้งผู้ประสานงานเขตกลุ่มประกันสุขภาพ เพื่อประสานงานระหว่างหน่วยงานในส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค จัดทำจดหมายข่าว เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ระหว่างหน่วยงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

4. พัฒนาฐานข้อมูลระบบประกันสุขภาพ จัดทำผังบัญชีภาคสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งและอบรมทีมพี่เลี้ยงบัญชีระดับจังหวัด ระดับเขต แต่งตั้งผู้ตรวจสอบรายงานการเงินหน่วยบริการ โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการเงินการคลังสุขภาพ - จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายระบบฐานข้อมูลพร้อมโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล - พัฒนาเว็บไซด์และโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูล จัดทำฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนและการตรวจสอบการจ่ายเงินชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ กรณีค่าใช้จ่ายสูง ของแรงงานต่างด้าว 4. พัฒนาฐานข้อมูลระบบประกันสุขภาพ โดยในปีที่ผ่านมา กลุ่มประกันสุขภาพได้จัดทำผังบัญชีภาคสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2550 เพื่อเป็นคู่มือในการลงบัญชีสำหรับหน่วยบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดตั้งและอบรมทีมพี่เลี้ยงบัญชีระดับจังหวัด ระดับเขตเพื่อทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและประสานงานภายในเขตและจังหวัดที่รับผิดชอบ และในปี 2551 ได้มีการแต่งตั้งผู้ตรวจสอบรายงานการเงินหน่วยบริการ เพื่อให้ข้อมูลที่ส่งเข้ามามีความถูกต้อง ครบถ้วน สามารถใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลได้อย่างแม่นยำ โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการเงินการคลังสุขภาพ ปี 2551 โดยกลุ่มประกันสุขภาพ ได้ดำเนินการ - จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายระบบฐานข้อมูลพร้อมโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล - จัดจ้างออกแบบและพัฒนาเว็บไซด์และโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูล - การดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - การประสานงานและดูแลรับ-ส่งข้อมูล จัดทำฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนและการตรวจสอบการจ่ายเงินชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ กรณีค่าใช้จ่ายสูง ของแรงงานต่างด้าว เพื่อให้มีฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนของแรงงานต่างด้าว การส่งเงินสมทบค่าบริการทางการแพทย์กรณีค่าใช้จ่ายสูง (50 บาทต่อราย) และการจ่ายชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ กรณีค่าใช้จ่ายสูง ตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs) และ 9 รายการ (9 โรคเดิม)

พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการข้อมูลการเงินการคลังสุขภาพ การพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการข้อมูลการเงินการคลังสุขภาพ กลุ่มประกันสุขภาพมีดำเนินการดังนี้

1. พัฒนากลไกการดำเนินงานของ CFOระดับเขต/จังหวัด ตั้งคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ระดับเขต/จังหวัด ในปีงบประมาณ 2550 ได้จัดประชุมการพัฒนากลไกการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังสาธารณสุข ระดับเขต รายภาค จัดทำคู่มือสำหรับคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ปีงบประมาณ 2551 อบรมเพิ่มพูนความรู้ที่เกี่ยวข้องด้านการเงินการคลังแก่แกนนำเครือข่าย CFO ระดับเขตและระดับจังหวัด ในการดำเนินการเพื่อพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการข้อมูลการเงินการคลังสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขในปีที่ผ่านมาได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ในระดับเขตและระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาระบบบัญชีและข้อมูลสารสนเทศการเงินการคลังของหน่วยบริการให้ถูกต้อง ครบถ้วน รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทางการเงินการคลังของหน่วยบริการเป็นรายไตรมาส ซึ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานกลุ่มประกันสุขภาพได้จัดประชุมการพัฒนากลไกการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังสาธารณสุข ระดับเขต เป็นรายภาคทั้ง 4 ภาค และได้ จัดทำคู่มือสำหรับคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังสุขภาพ ปีงบประมาณ 2551 เพื่อให้คณะกรรมการฯ ได้ใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ ติดตาม ประเมินสถานการณ์ของหน่วยบริการ ในการดำเนินการต่อไปจังหวัดควรพิจารณาคัดเลือกผู้ที่ทำหน้าที่เป็นแกนนำในการวิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ทางการเงินอย่างแท้จริงเพื่อจะได้อบรมเพิ่มพูนให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องด้านการเงินการคลังแก่แกนนำเครือข่าย คณะกรรมการฯCFO ในระดับเขตและระดับจังหวัดต่อไป

2. การพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดการเงินการคลัง สุขภาพ * ตั้งคณะกรรมการพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข จัดทำดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข จัดทำคู่มือการจัดทำรายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข ในด้านการพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดการเงินการคลังสุขภาพ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนารายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข ที่มี นายแพทย์นิพนธ์ โตวิวัฒน์ เป็นประธาน โดยได้จัดทำรายงานทางการเงินตามรูปแบบบัญชีบริหาร (Managerial Accounting Report) เป็นรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นใหม่เพื่อประโยชน์ในการบริหาร โดยเน้นให้สะดวกกับการใช้งานสอดคล้องกับทิศทางการจัดสรรงบประมาณ และการใช้จ่ายเงินของสถานบริการสาธารณสุข เพื่อให้ผู้บริหารสามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ และได้จัดทำดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข และคู่มือการจัดทำรายงานทางการเงินและดัชนีชี้วัดทางการเงินการคลังสาธารณสุข โดยในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทางการเงิน คุณภาพของข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญ หากข้อมูลมีความผิดพลาดแล้ว ผลของการวิเคราะห์ก็ไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นจึงควรมีการประเมินคุณภาพข้อมูลทางบัญชี และพัฒนาให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา