ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก ชุติมณฑน์ พันศิริ ปริญญาพร มะธิปะโน BPI and BPD

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ
Rescue a child with choking
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Adult Basic Life Support
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
PEDIATRIC HEMATOLOGY/ONCOLOGY INTER-HOSPITAL CONFERENCE
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
หุ่นจำลองเพื่อการสอนญาติ / ผู้ดูแล on tracheostomy
Mechanical Ventilation & Clinical application
ประเด็นสำคัญ เป็นโรคที่พบตั้งแต่แรกเกิด ต้องการการดูแลต่อเนื่องระยะยาว
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง
โดย มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี สุปรียา ราชสีห์
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ประวัติ (ต่อ ) สภาพครอบครัว ผลกระทบจากการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
Medication Review.
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Rehabilitation In COPD
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก ชุติมณฑน์ พันศิริ ปริญญาพร มะธิปะโน BPI and BPD จัดทำโดย ผศ.ณิชานันท์ ปัญญาเอก ชุติมณฑน์ พันศิริ ปริญญาพร มะธิปะโน

Personal data : ทารกหญิง อายุ 2 เดือน ที่อยู่ จ.อุดรธานี CC : wean off resp. ไม่ได้ + แขนขวาอ่อนแรง Dx. : Rt. BPI,diaphragmatic paralysis, atelectasis and Pneumonia Precaution : tube เลื่อนหลุด Date of PT service : 21 พ.ค. 50

Subj. ex : ด.ญ. ไทย อายุ 2 เดือน term มารดา 30 ปี คลอดธรรมชาติ ที่ ร.พ. ค่ายประจักษ์ฯ อุดรธานี วันที่ 30 มี.ค. 50 3,660 กรัม ขณะคลอดติดไหล่ประมาณ 1 นาที หลังคลอดมี Mild cyanosis,หอบ, APGAR score 5,7 และ 9 แขนขาอ่อนแรงไม่ขยับแพทย์วินิจฉัยว่า Rt. BPI and Pneumonia จึง on O2 box + ATB 1 เดือนต่อมามีภาวะหอบ เขียวมากขึ้นร่วมกับมี Apnea จึงใส่ ET-tube <SIMV PIP=16 PEEP=5 RR=20 FiO2 =0.4> ส่ง US พบภาวะ Diaphragmatic Paralysis จึงรักษาภาวะ chronic lung disease แต่ไม่สามารถถอดเครื่องช่วยหายใจได้

15 พ.ค. 50 refer มาที่ ร.พ. ศรีนครินทร์ 16 พ.ค. 50 ส่งปรึกษา PMR for CPT + jt. Mobilization 21 พ.ค. 50 ส่งปรึกษา PT PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม ประวัติการตั้งครรภ์ปกติ

Medical investigation CXR <21/05/07> : พบ Infilltration Rt. lung CBC < 21/05/07> CBC 1 ABG <21/05/07> ABG1 Clinical Chem. <21/05/07> clin chem1

Obj. ex. General obs. - sleeping child, sthenic - on ET tube + respirator mode CMV <PIP=18, PEEP=5, RR=30, Fio2=0.4> - upper chest breathing pattern - mild central cyanosis - no clubbing fingers,neck vein enlargment, edema, activity of Rt. Arm

- on OG tube and pulse O2 - normal sharp of chest wall Inspection - Normal posture of Lt. arm and LEs. - Ext. Rotation + slightly flexion of Rt. Arm - no deformity

- rhonchal fermitus B. lung Palpation - rhonchal fermitus B. lung - symmetrical of upper chest mvt. - Asymmetrical mvt. Of Rt. Chest wall + abdomen - symmetrical mvt. Of Lt. Chest wall + abdomen

Percussion - can’t exam : narrowing of intercostal space Auscaltation - croase crep. B. lung - sorronus rhonchi B. lung - decrese breathsound RUL

Neuromuscular exam. - Rt. Arm flaccid - ROM OF Rt. Elbow fl./ex. = 100/0/0 soft end feel, another : normal - palma grasp reflex : Rt. Neg. - muscle test : can’t exam.

Problem list. 1. Impair airway clerance 2. RUL atelectasis 3. Air flow limitation 4. Abnormal breathing pattern and chest mvt. 5. Abnormal ROM and muscle tone

Goal of treatment. STG :1. remove secretion 2. no atelectasis 3. improve breathsound 4. normal breathing pattern and chest mvt. 5. Increase ROM of Rt. Elbow flexion 6. prevent complication

LTG : 1. lung clerance 2. wean off respirator ได้ 3. no complication <ROM ,development>

Plan of treatment 1. CPT to remove secretion, improve BS and chest mvt. Wean off respirator 2. Therapeutic exercise to improve ROM and prevent complication 3. positioning to improve ventilation and prevent complication 4. Development stimulation 5. Ward program

1. MPD+percussion+vibration Treatment 1. MPD+percussion+vibration 2. Passive chest movement. 3. PROME + jt.mobilization 4. Positioning : นอนหัวสูงเพื่อเพิ่ม ventilation 5. SI

Progression note <30 พ.ค. 50> S : on SIMV ; PIP=16 RR=20 FiO2=0.4, keep sat 88-92%,V/S stable Sputum c/s : MRSA <tracheal suction> O : - rhonchi B. lung - effective coughing - active infant A : - S : same

S : -on SIMV <PIP=16, RR=15, FiO2 =0.4> 6 มิ.ย.50 S : -on SIMV <PIP=16, RR=15, FiO2 =0.4> - CXR : infiltration B. lung - fever+tachycadia O : same A : pt.ได้รับการลด RR ลงแสดงว่าผู้ป่วยเริ่มหายใจได้เอง แต่ยังมีปัญหาของ atelectasis เนื่องจากมีการอุดกั้นของเสมหะอยู่ S : same

P : เน้นการกระตุ้นพัฒนาการและจัดท่าเพื่อเพิ่ม ventilation 26 มิ.ย. 50 S : off ET tube, on O2 canular 3 l/m ABG1.ppt, US abdomen : diaphragmatic movement O : Lung clerance A : การหายใจของผู้ป่วยดีขึ้นมาก ค่า ABG กำลังปรับเข้าสู่ภาวะสมดุล P : เน้นการกระตุ้นพัฒนาการและจัดท่าเพื่อเพิ่ม ventilation

S : on O2flow 1 l/m, keep sat>95% 1 ก.ค. 50 S : on O2flow 1 l/m, keep sat>95% EMG : incomplete C5-6 level เริ่มมีการเคลื่อนไหวของแขนขวา นิ้วมือขวา O : lung clearance, no cyanosis A : การหายใจของผู้ป่วยดีขึ้นมากเนื่องจากมีการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อกระบังลมร่วมกับการทำกายภาพบำบัดจึงทำให้ลดภาวะแทรกซ้อนได้มาก P : เน้นสอนมารดาทำ PROME, passive chest mvt, positioning เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดตามมา

ผู้ป่วย ด.ญ. ไทย อายุ 2 เดือน ประวัติการตั้งครรภ์มารดาปกติ Discussion ผู้ป่วย ด.ญ. ไทย อายุ 2 เดือน ประวัติการตั้งครรภ์มารดาปกติ คลอดติดไหล่ 1 นาที Birth asphysia Rt. BPI หอบ เขียว แขนขวาไม่ขยับ APGAR 5,7,9 O2 box 1 เดือน

wean off resp. ไม่ได้จึง refer มาที่ ร.พ. ศรีนครินทร์ เมื่อ 15 พ.ค. 50 1 เดือนต่อมา Apnea + หอบ + เขียวเพิ่มขึ้น on respirator <SIMV> + US พบ Elevate of Rt. Diapharm + pneumonia wean off resp. ไม่ได้จึง refer มาที่ ร.พ. ศรีนครินทร์ เมื่อ 15 พ.ค. 50

กุมารแพทย์ ส่งปรึกษา Ortho<BPI> ส่งปรึกษา PMR รอประเมิน 3 เดือน แนะนำทำ ปรึกษา กายภาพบำบัด CPT exercise positioning SI wean off respirator 26 มิ.ย. 50 D/C 1 ก.ค. 50

ปัญหาทางกายภาพบำบัด มีดังนี้ 1. Impair airway clerance 2. RUL atelectasis 3. Air flow limitation 4. Abnormal breathing pattern and chest mvt. 5. Abnormal ROM and muscle tone

ขณะคลอดผู้ป่วย มารดามีภาวะคลอดติดไหล่ 1 นาที ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะที่เส้นประสาทถูกกระชากขาด (BPI)ที่แขนขวา ไม่สามารถขยับได้เองและส่งผลให้กระบังลมทำงานไม่ปกติ ( diaphragmatic paralysis) เกิดภาวะปอดแฟบ( lung atelectasis) การระบายอากาศในปอดลดลง ทำให้ผู้ป่วยหายใจได้ไม่ดี เสมหะมาก จนไปขัดขวางการไหลเวียนของอากาศในปอด ( airflow limitation ) แพทย์จึงต้องใช้เครื่องช่วยหายใจและเกิดปัญหาถอนเครื่องช่วยหายใจไม่ได้

บทบาทของนักกายภาพบำบัดในผู้ป่วยรายนี้คือ 1 บทบาทของนักกายภาพบำบัดในผู้ป่วยรายนี้คือ 1. ช่วยระบายเสมหะที่อยู่ในปอดออกมาให้มากที่สุด เพื่อลดภาวะการอุดกั้นของท่อทางเดินหายใจ ช่วยในเรื่องการไหลเวียนของอากาศ ลดภาวะปอดแฟบ และสามารถถอนการใช้เครื่องช่วยหายใจได้ 2.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก BPI เช่นข้อหลุด ข้อติดแข็ง ซึ่งในผู้ป่วยรายนี้ พบ ข้อศอกติด เหยียดออกไม่เต็มองศาการเคลื่อนไหว เป็นต้น

พยากรณ์โรคในผู้ป่วยรายนี้ค่อนข้างนี้ดี เพราะเส้นประสาทที่บาดเจ็บมีการฟื้นตัว กระบังลมสามารถทำงานได้ดีขึ้น จนสามารถถอนเครื่องช่วยหายใจได้ ส่วนเรื่องการประเมินการทำงานของเส้นประสาท (EMG) ต้องรอให้ผู้ป่วยอายุครบ 3 เดือนจึงจะสามารถประเมินได้ ก่อนที่ผู้ป่วยจะกลับบ้านก็ได้มีการสอนมารดาให้มีการออกกำลังกายแขนขวา เพื่อป้องกันภาวะข้อติด และกระตุ้นความตึงตัวของกล้ามเนื้อ

waiter's tip

BPI, Clinical Presentation Erb's Palsy (Brachial Plexus Injury)_files