สมบัติพื้นฐานและการเลือกใช้ประโยชน์ของเทอร์โมพลาสติก แสดงการทดสอบแรงกระแทกของพลาสติก
พอลิเอทิลีน ( Polyethylene ) โครงสร้างของ PE มี 3 แบบ คือ PE แบบความหนาแน่นต่ำ ( LDPE ) PE ความหนาแน่นสูง ( HDPE ) PE โครงสร้างเป็นเส้นตรง ความหนาแน่นต่ำ ( LLDPE ) การประยุกต์ PE เมื่อนำมาใช้งาน มีภาชนะบรรจุ ฉนวนไฟฟ้า สายพลาสติก ทำขวด
พอลิไวนีลคลอไรด์ และโคพอลิเมอร์ ( PVC ) กราฟผลของพลาสติกไซเซอร์ชนิด ต่างๆ ต่อ Tensile Strengh ของ PVC การประยุกต์ : ทำเฟอร์นิเจอร์หุ้มเบาะ เสื้อกันฝน รองเท้า ฉนวนไฟฟ้า สายยาง ฯลฯ
พอลิโพรพีลีน ( Polypropylene ) โครงสร้างและสมบัติ จุด หลอมเหลว และจุดอ่อนตัวสูง ทนต่อสารเคมี ไม่ดูดความชื้น มีความหนาแน่นต่ำ ( 0.90-0.91 g/cm3 ) การประยุกต์ การทำเครื่องใช้ภายในบ้านและเครื่องใช้ไฟฟ้า ได้แก่ หม้อแบตเตอรี่ หุ้มกันชน ใบพัด ท่อน้ำ
พอลิสไตรีน ( Polystyrene ) โครงสร้าง แข็ง ไม่ยึดหยุ่น เทอะทะ จึงมีความต้านทานต่อแรงกระแทก มีคุณสมบัติเป็น พลาสติกใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ค่อนข้างเปราะ การประยุกต์ ทำชิ้นส่วนภายในรถยนต์ อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน ตลอดจนอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
พอลิอะครีโลไนไทรล์ ( Polyacrylonitrile ) พอลิอะคริดลไนไทรล์ - มีโครงสร้างตามแนวยาว ( Rodlike ) - แข็งและโค้งงอยาก - ทนต่อความชื้นและตัวทำละลาย นิยมนำไปใช้งานในลักษณะ - เส้นใย เพื่อนำไปผลิต เสื้อกันหนาว ผ้าห่ม เป็นต้น
สไตรีน-อะครีโลโนไทรล์ ( Styrene-Acrylonitrile = SAN ) มีคุณสมบัติ - ทนต่อสารเคมี - เหนียวซึ่งดีกว่า polystyrene อย่างเดียว - มีลักษณะแข็งใส นิยมนำไปผลิต : ชิ่นส่วน รถยนต์ เลนส์ เครื่องใช้ภายในบ้าน เป็นต้น
Acrylonitrile Butadiene Styreae ( ABS ) 1 อะครีโลโนไทรล์ 2 บิวตะไดอีน 3 สไตรีน การประยุกต์ : ทำท่อน้ำ ส่วนประกอบรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
พอลิเมทิล เมทาครีเลต ( Polymethyl Methaerylate ) มีคุณสมบัติ - แข็งไม่ยึดหยุ่น - ทนต่อสภาพแวดล้อม - ทนต่อแรงกระแทก PMMA : นิยมนำไปผลิต กระจกหน้าต่างชองเครื่องบิน เรือเร็ว กระจกนิรภัย
ฟลูออโรพลาสติก ( Fluoroplostics ) คุณสมบัติ - มีความตานทานสูง - ทนต่อสารเคมี - มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้า ฟลูออโรพลาสติกที่นิยมนำมาใช้งานมีเพียง 2 ชนิด 1 พอริเด ตระ ฟลู ออโรเอทีลิน ( PTFE ) 2 พอลิคลอโรไตร ฟลู ออโรเอท ลีน ( PCTFE )