การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Pascal Programming Language โปรแกรมภาษาปาสคาล
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษาปาสคาล บทนำ.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
Javascripts.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม บทที่ 9 การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ ด้วยภาษาปาสคาล(PASCAL)

Pascal โปรแกรมภาษาชั้นสูง แบบโครงสร้าง Structural Language รูปแบบเป็นมาตรฐานโปรแกรมภาษาชั้นสูงเช่นเดียวกับ C , Java กลไกการทำงาน Source Code .pas Compiler Object , Execution Code Turbo Pascal Library

โครงสร้างภาษา ทุกคำสั่งต้องปิดท้ายด้วย Semi Colon Program ชื่อโปรแกรม; Uses ชื่อ Unit หรือ Library; Type กำหนดชนิดตัวแปร; Var กำหนดตัวแปร; Begin คำสั่งต่างๆ; End. ทุกคำสั่งต้องปิดท้ายด้วย Semi Colon โปรแกรมจะเริ่มทำงานที่ Begin จบที่ End ตัวอักษรเล็กใหญ่ไม่สำคัญ ไม่จำเป็นต้องมีครบทุกส่วน แต่ต้องมี Begin – End.

Turbo Pascal Compiler Turbo.exe > editor + compiler + Runtime Turbo.tpl > pascal library Turbo.tph > Help files *.pas > Source code programs *.tpu > External Units

Exam Program example; Begin Writeln(“Hello World”); Writeln(“Thank you…”); End. โปรแกรมชื่อ example มีคำสั่ง 2 บรรทัด ทั้ง 2 บรรทัดให้แสดงข้อความออกจอภาพ

Note. การตั้งชื่อโปรแกรม Program …………………; ชื่อต้องเป็นภาษาอังกฤษ ตัวเล็กหรือตัวใหญ่แต่ต้องติดกันหมด สามารถใช้ตัวเลขหรือ _ ร่วมได้ เช่น Program test; Program myProgram1; Program Example_area;

คำสั่ง Write , Writeln Program PrintOut2; begin   WriteLn ('This is yet another');   WriteLn ('Pascal programming test!'); end. Writeln หรือ Write เป็นคำสั่งให้แสดงข้อความ หรือ อะไรก็ตามที่อยู่ในวงเล็บออกทางจอภาพ

การลบจอภาพ Clrscr Program Clear;  uses crt; begin   ClrScr;   WriteLn (This is written in the top left corner on a cleared screen'); end. Clrscr ต้องใช้ Unit crt เป็นคำสั่งใช้ลบจอภาพ

Additional explanation: ตัวแปร (Variables) ตัวแปร คือ หน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูลค่าใดค่าหนึ่ง เรียกใช้โดยการระบุชื่อซึ่งเราเรียกว่า ตัวแปร การตั้งชื่อ : ต้องตั้งด้วยภาษาอังกฤษ ตัวเล็กหรือใหญ่ สามารถใช้ตัวเลขร่วมได้ ไม่อนุญาตให้ใช้สัญลักษณ์พิเศษ และต้องไม่ซ้ำกับคำสั่งอื่นๆ type: Explanation: Additional explanation: Example: Integer Whole numbers   3, 104, 0, -9 String String variable (Text) 'Hello World', '456,4' Char Character (One character) 'b', 'A', '7' Boolean Boolean variable Can only be True or False True, False Real Real numbers (Floating point numbers) 4.0, -0.08, 48.6, 2.0E4

การกำหนดตัวแปร ตัวแปรต้องกำหนดไว้ในส่วน Var ดังตัวอย่าง Program Declaration;  var Name: String; begin   .   [Your program]   . end. Program Declaration;  var A , Numbers: Integer; X : Real; begin   .   [Your program]   . end.

ตัวแปรตัวเลข ตัวแปรตัวเลขมีขอบเขตการเก็บข้อมูลและแบ่งประเภทย่อยๆ ดังนี้ Range Number of bytes in memory Byte 0..255 1 Shortint -128..127 Integer -32768..32767 2 Word 0..65535 Longint -2147483648..2147483647 4

ตัวแปรทศนิยม Range Number of bytes in memory Real 2,9x10E-39..1.7x10E38 6 Single 1.5x10E-45..3.4x10E38 4 Double 5.0x10E-324..1.7x10E308 8 Extended 1.9x10E-4951..1.1x10E4932 10 Comp -2E+63+1..2E+63-1

ตัวอย่างการใช้งานตัวแปร Program Var_Print; var numbers : Integer; values : Real; begin   numbers := 23; values := 30.5;   WriteLn ('The variable numbers got the value:');   WriteLn (numbers); WriteLn (‘values is ‘,values); end.

เกิดอะไรขึ้นถ้า เพราะเหตุใด ? Program Var_Print; var numbers : Integer; values : Real; begin   numbers := 7.5; values := 20;   WriteLn ('The variable numbers got the value:');   WriteLn (numbers); WriteLn (‘values is ‘,values); end. เพราะเหตุใด ?

การคำนวณ เครื่องหมายในการคำนวณ + การบวก - การลบ * การคูณ / การหาร โปรแกรมจะดำเนินการตามลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย sum := number1 + number2; division := number1 / number2; complex := (number1 + number2) * 3;

การคำนวณ(ต่อ) Program Calculate; var number1, number2: Integer; Begin number1 := 100; number2 := 45; Write ( ‘ The result of the calculation is: ‘ ); WriteLn (number1 + number2); End.

การคำนวณ (ต่อ) Program Triangle_Area; var High , Base: Integer; Area : Real; Begin High := 10; Base := 25; Area := 0.5 * Base * High; Write ( ‘ The area result of the triangle is: ‘ ); WriteLn ( Area:8:2 ); Readln; End.

จงเขียนโปรแกรม คำนวณหาผลรวมของราคาสินค้า Apple ราคา 500 บาท , Durian ราคา 300 บาท ส่วนลด 10% จงแสดงราคาสินค้ารวมทั้งสองอย่างเมื่อหักส่วนลดแล้ว

Continue..