Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
Advertisements

บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
สื่อการเรียนรู้ ความงามของศิลปะด้านจิตรกรรม ศ เรื่อง
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
Chapter 6 : Video.
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
บทที่ 4 ภาพนิ่ง (Still Image)
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
วงจรสี.
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
องค์ประกอบ Graphic.
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบ Photoshop.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
Computer Graphics Image Processing 1.
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
สี (Color).
Principle of Graphic Design
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์ การพิมพ์และถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
หน่วยที่ 7 การปรับแต่งสีของภาพถ่าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
Module 4 เครื่องวัดสีและเครื่องวัดสีเฉพาะ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
เสริมเว็บให้ดูสวย.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
Hardware แนะนำ วิชา MIS อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
ภาพนิ่ง (Still Image).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ ซึ่งแตกต่างกันตามความยาวของคลื่นแสง ที่มากระทบวัตถุ และสะท้อนกลับมา ที่ตาของเรา Hue ถูกวัดโดยตำแหน่งบน Standard Color Wheel ซึ่งถูกแทนด้วยองศาคือ 0 ถึง 360 องศา แต่โดยการ ใช้ทั่ว ๆ ไปแล้วมักจะเป็นการเรียกสีนั้นเลยเช่น สีแดง, สีม่วง, สีเหลือง, SATURATION เป็นเรื่องของความเข้มข้นและความจางของสี Saturation คือสัดส่วนของสี Hue ที่มีอยู่ในสีเทา วัดค่าเป็น % ดังนี้ คือจาก 0% (สีเทา) จนถึง 100% (full saturation สีที่มีความอิ่มตัวเต็มที่) BRIGHTNESS เป็นเรื่องของความสว่างและความมืดของสี ซึ่งถูกกำหนดค่าเป็น % จาก 0% (สีดำ) ถึง 100% (สีขาว)

Basic Color(cont.) RGB Model หลักการมองเห็นสีของเครื่อง Computer RGB Model เกิดจากการรวมกันของ Spectrum ของแสงสี แดง, เขียว และน้ำเงิน ในสัดส่วนความ เข้มข้นที่แตกต่างกัน จุดที่แสงทั้งสามสีรวมกัน คือสีขาว บางครั้งเราเรียกสีที่มองเห็นใน RGB Model ว่าเป็น Additive Color ลักษณะการรวมกันเช่นนี้ ถูกใช้สำหรับการส่องแสง ทั้งบนจอภาพทีวี และ จอคอมพิวเตอร์ ซึ่งสร้าง จากสารที่ให้กำเนิดแสงสีแดง, สีเขียว และสีน้ำเงิน

Basic Color(cont.) CMYK Model หลักการมองเห็นสีของเครื่องพิมพ์ CMYK Model มีแหล่งกำเนิดอยู่ที่การซึมซับ (absorb) ของหมึกพิมพ์ บนกระดาษโดยมีสีพื้นฐาน คือ สี Cyan Magenta และสีเหลือง สีทั้งสามข้างต้นรวมกันเป็นสีดำ บางครั้งเราเรียกว่า สีที่มองเห็นใน CMYK Model ว่าเป็น Subtractive Color แต่สี CMYK ก็ไม่สามารถผสมผสานรวมกันให้ได้สีบางสี เช่น สีน้ำตาล จึงต้องมีการเพิ่มสีดำลงไป เมื่อรวมกันทั้ง 4 สีคือ CMYK สีที่ได้จึงครอบคลุมสีที่เกิดจากการพิมพ์สีทุกสี

Basic Color(cont.) LAB Model เป็นค่าสีที่ถูกกำหนดขึ้นโดย CIE (Commission Internationaled Eccclairage) ให้เป็นมาตรฐาน การวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกสีใน RGB และ CMYKและใช้กับสีที่เกิดจากอุปกรณ์ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น Monitor, Printer, Scanner ฯลฯส่วนประกอบของโหมดสีได้แก่ A. Luminance=100 (white) B. Green to red component C. Blue to yellow component D. Luminance=0 (black)

รูปแบบการมองเห็นสี.. การมองเห็นสีใน Photoshop เรียกว่า Mode ซึ่ง Mode สีใน Photoshop แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 Mode อ้างอิงตาม Model กลุ่มที่ 2 Mode ที่ถูกกำหนดขึ้นพิเศษ หรือที่เรียกว่า Specialized Mode กลุ่มที่ 3 Mode ที่ใช้ควบคุมค่า Pixel ใน Option Palette หรือเรียกว่า Blending Mode

โหมดที่อ้างอิงตาม Model RGB Mode ใช้หลักการของ RGB Model โดยมีการกำหนด ค่าความเข้มข้นของสีแดง เขียว และน้ำ เงิน ที่รวมกันในแต่ละ Pixel เป็นค่าตั้งแต่ 0-255 ตัวอย่างเช่น สี Bright Red เกิดจาก R (สีแดง) ที่ 246 และ G (สีเขียว) ที่ 20 และ B (สีน้ำเงิน) ที่ 50 ภาพที่เกิดจาก RGB Mode จะมีถึง 16.7 ล้านสี

CMYK Mode CMYK Mode ใช้หลักการของ CMYK Model โดยมีการกำหนดค่าสีโดยใช้เป็น เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของสีแต่ละสี ที่มาผสมกันเช่น สี Bright Red เกิดจาก C%, M93%, Y90% และ K0% หรือสีขาวเกิดจาก C M Y และ K อย่างละ 0%

LAB Mode LAB Mode ใช้หลักการเดียวกับ LAB Model ภาพในโหมด LAB เกิดจากการผสมกันของ 3 องค์ประกอบคือ L * A * B

กลุ่มที่ 2 โหมดที่ถูกกำหนดขึ้นพิเศษ กลุ่มที่ 2 โหมดที่ถูกกำหนดขึ้นพิเศษ หรือที่เราเรียกว่า Specialized Mod Bitmap Mode ประกอบด้วยค่าสีเพียง 2 สีคือ สีขาว และสีดำ ใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูลเพียง 1 Bit งานที่เหมาะสำหรับ Bitmap คืองานลายเส้นต่าง ๆ เช่น เครื่องหมาย และโลโกต่าง ๆ Gray Scale Mode ประกอบด้วยสีทั้งหมด 256 สีโดยไล่สีจากสีขาว สีเทาไปเรื่อย จนสุดท้ายคือสีดำ ใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 8 Bit Duotone Mode เป็นโหมดที่เกิดจากการใช้ Channel สีเพียงบาง Channel เท่านั้น Indexed color Mode เนื่องจากสีทั้งหมดอาจมีถึง 16.7 ล้านสี แต่ในภาพบางภาพที่เราใช้ ไม่ได้ใช้สีทั้ง 16.7 ล้านสี และความจำเป็นในการประหยัดเนื้อที่ ในการเก็บข้อมูลนั้น เวลา Load มาใช้งานจะได้เร็ว เช่น ภาพที่ใช้งานกับ WEB SITE ต่าง ๆ Photoshop จึงมีการคำนวณเลือกเฉพาะสี ที่ใช้ และสร้างเป็นโหมดสีขึ้นมาเพียง 256 สีเราเรียกว่า Index color Mode Multichannel Mode เป็นโหมดสีที่ถูกแสดงด้วย Channel ตั้งแต่ 2 Channel ขึ้นไป แยก Channel ได้หลาย Channel เป็นโหมดสีที่ใช้ประโยชน์มาก สำหรับงานพิมพ์

Layer Blending Mode กลุ่มที่ 3 Layer Blending Mode เป็นโหมดพิเศษที่ใช้เฉพาะใน Option Palette เพื่อเป็นตัวกำหนดว่า Pixel แต่ละ Pixel จะมีการเปลี่ยน แปลงอย่างไร เมื่อมีการปรับเปลี่ยนให้แสดงผล ใน Blending Mode ต่าง ๆ

Hues Primary Secondary Tertiary แถบความถี่แสงที่มนุษย์สามารถมองเห็น ตั้งแต่สีแดงจนถึงสีม่วง เป็นรูปแบบการผสมสีระหว่างแถบแสงสีแดง เหลือง และ น้ำเงิน Primary Hues => แดง เหลือง น้ำเงิน Secondary Hues =>ม่วง(แดง+น้ำเงิน) ส้ม(เหลือง+แดง) เขียว(น้ำเงิน+เหลือง) Tertiary Hues => ม่วง ส้มแดง น้ำตาลอ่อน เขียวอ่อน เขียวเข้ม ม่วงน้ำเงิน ซึ่งเป็นการผสมจากระดับที่ 2 Primary Secondary Tertiary

วงล้อสี เกิดจากการผสม Hue หลายๆ ระดับ

สีบนคอมพิวเตอร์ สีบนคอมพิวเตอร์จะใช้แม่สีจาก HUES 3 สีคือ แดง เขียว น้ำเงิน ที่เรียกว่า RGB Colors ความเหมือนจริงของภาพขึ้นอยู่กับค่าระดับสีของ Pixel เช่น RGB ที่มี Color Dept เป็น 8 จะสามารถแทนค่าสีได้ 28 = 256 สี Color Dept 24 ระดับจะได้แทนค่าสีได้ 16.7 ล้านสี(True Color) Dithering เป็นหลักการใช้สีที่จำเป็นไม่ต้องใช้ทั้ง 16.7 ล้านสี แต่จะใช้ 256 สีผสมกันเองเพื่อตบตาการมองเห็น 16.7 ล้านสีได้มาจากการแบ่งระดับของสี แดง เขียว น้ำเงิน อย่างละ 256 ระดับ = 256*256*256 ระดับบิต Color Mode Name จำนวนสีที่แสดง 1 Black-White 2 4 16-Color EGA 16 8 Pseudo Color 256 16 Hi-color 65,536 24 True Color 16,777,216

ภาพสีกับ Color Dept 16 Bits 8 Bits 4 Bits 1 Bit

True Color vs 256 Colors การใช้ 256 color แทน True Color อาจ ทำได้แต่ถ้าเฉดสีมากเกินไปจะทำให้เฉดสี บางสีผิดเพี้ยน

สีกับความรู้สึก สีเขียวสดชื่น สีแดงที่เร่าร้อน สีส้มเป็นมิตร สีฟ้าที่เย็น แดงเหลืองที่อบอุ่น สีเขียวสดชื่น สีส้มเป็นมิตร แดงน้ำเงินแห่งอำนาจ

สีกับความรู้สึก สีม่วงที่ลึกลับ ฟ้าเขียวที่ซาบซ่า

Image Format Format เป็นรูปแบบการเก็บไฟล์ภาพในลักษณะต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อ ประโยชน์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน เช่น การพิมพ์ภาพ การใช้งานในเว็ปไซด์ ซึ่ง ระบบ OS Windows กำหนดให้มีอักษร 3 ตัว เช่น .Doc หมายถึง ไฟล์เอกสาร สำหรับ Graphics มีดังนี้ Photoshop File (.psd) เป็นไฟล์พื้นฐานของโปนแกรม Photoshop เหมาะสำหรับใช้ ตกแต่งภาพ สามารถบันทึกขั้นตอนการทำงาน เพื่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขภาพได้ เนื่องจากมีการเก็บ Layer ต่าง ๆ ไว้ แต่มีข้อเสียคือ ใช้กับโปรแกรม Photoshop ได้เพียงโปรแกรมเดียวเท่านั้น ถ้าจะนำไปใช้กับโปรแกรมอื่น ต้องบันทึกเป็น Format อื่น Bitmap (.bmp) เป็นไฟล์มาตรฐานของระบบ OS Windows TIFF (.tiff) Tagged Image File Format เป็นไฟล์ที่สามารถใช้ได้ทั้งเครื่อง PC และ MAC ส่วนใหญ่ใช้ในงานโปรแกรมเกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ เช่น Pagemaker เป็นต้น GIF (.gif) Graphic Interchange Format เป็นไฟล์ที่ใช้กันมากบน Inter Net เพราะเป็นไฟล์ที่มีขนาดเล็กสะดวกในการส่ง-ถ่ายข้อมูล

Image format(ต่อ๗ JPEG (.jpg) Joint Phpotographic Experts Group เป็นอีกไฟล์ที่มีขนาดเล็ก ไฟล์ที่ใช้กันมากบน Inter Net เพราะมีการบีบอัดข้อมูลภาพ และการลดรายละเอียดของภาพออก PICT (.pct) เป็นไฟล์ที่ใช้กับงานพิมพ์บนเครื่อง MAC เท่านั้น เพราะมีขนาดใหญ่เกินกว่าเครื่อง PC จะรับได้ RAW (.raw) เป็นไฟล์ที่ยืดหยุ่นได้ดี ถ้าต้องการเปลี่ยนการทำงานในต่าง Application หรือเปลี่ยนรุ่นคอมพิวเตอร์ PNG เป็นไฟล์ที่ถูกพัฒนาต่อจาก Gif โดยมีข้อดี คือจะเกิดการสูญเสียน้อยมาก เมื่อมีการบีบอัดข้อมูล จึงเหมาะสำหรับการใช้ Down Load ข้อมูล

ซอฟต์แวร์ในคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ Graphic Standard Planning Committee ได้พยายามจัดตั้งมาตรฐานทางกราฟฟิกส์ Core Graphic System (อเมริกา) มาตรฐานด้าน 3D Graphic Kernel System (เยอรมัน) มาตรฐานด้าน 2D ประเภทซอฟต์แวร์ทางกราฟฟิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูป เช่น 3DMAX , MAYA โปรแกรมที่เขียนขึ้นเองด้วยภาษาชั้นสูงต่างๆ เช่น C , JAVA

End.