กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Advertisements

บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
คณะศึกษาศาสตร์ กำแพงแสน มก.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
รอบรู้อาเซียน.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
5.
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระเบียบวิธีวิจัยภาคสนาม (Field Research Methodology)
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
( Organization Behaviors )
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 6 : 23 ม.ค. 55.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)
Sociology of Development
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
หนังสือรักษา โลก โครงการเพื่อการสร้างสรรค์สังคมร่วมกัน ผ่านการบูรณาการในรายวิชา การออกแบบวัสดุกราฟิกด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
การพัฒนาภาคพิสดาร เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก Political Economy of Eastern Weltanschauung (Worldviews) ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm) เริ่มช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/ หายนะ โดยเฉพาะยุโรป และแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- - Neo-Classic Economic - American Social Science

-: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “ เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ ” หรือ “ Development Economics ” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่าง ๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม

แนวการพัฒนาตามกรอบแนวความคิดที่ 1 เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรปตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าและ เจริญแผ่ขยายมายังประเทศด้อยพัฒนาช่วงปี 1950-1960 ในรูป : ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory

“การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการ ขาดเงื่อนไข การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

กรอบแนวความคิดนี้อาจจะประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง ประเด็นการพัฒนา : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค เศรษฐกิจเจริญ สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดนี้อาจจะประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง ทั้งประเทศพัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน

กรอบแนวความคิดที่ 2 (Second Paradigm) มองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้าน 1 st Paradigm เริ่มขึ้นช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกันทั้งในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยให้แยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก -เศรษฐศาสตร์พัฒนา -สังคมวิทยาอเมริกัน

นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ Structuralism Approach

กรอบแนวความคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ 1970 โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวของระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความ สับสนและด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป

- วิถีการผลิต (Mode of Production) แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)