งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม

2 ความหมาย จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
จิตวิทยา = การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ อุตสาหกรรม = การผลิต การจำหน่าย การบริการ การใช้สินค้า การบริหารงานบุคลากร ฯ จิตวิทยา + อุตสาหกรรม = การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์โดยการ หาข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน อุตสาหกรรม

3 วิวัฒนาการของจิตวิทยาอุตสาหกรรม
ค.ศ (Bryan) งานวิจัย “การพัฒนาทักษะของนักโทรเลขในการส่งข่าวสาร” ค.ศ (Robert Owen) หนังสือ “ทักษะใหม่ของสังคม” ค.ศ (Charles Babbage) หนังสือ “เศรษฐกิจของเครื่องจักร และผู้ผลิต” ค.ศ (Walter Dill Scott) หนังสือ “ทฤษฎีการโฆษณา (The Theory of Advertising) ” ค.ศ.1913 (Hugo Munsterberg) หนังสือ “จิตวิทยาและประสิทธิภาพของอุตสาห กรรม (Psychology and industrial Efficiency)

4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)
เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในบริเตนใหญ่ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีจุดเริ่มจากเทคโนโลยีเครื่องจักรไอน้ำ (ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงหลัก) ทำงานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ (โดยเฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งทอ) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจถูกผลักดันด้วยการสร้างเรือ เรือกำปั่น และทางรถไฟ ที่อาศัยเครื่องจักรไอน้ำ ความเจริญก้าวหน้าแผ่ขยายไปสู่ยุโรปตะวันตกและทวีปอเมริกาเหนือ และส่งผลกระทบทั่วโลกในที่สุด

5 เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์
จุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุสาหกรรม

6 สงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วง ค.ศ. 1914 - 1918
28 กรกฎาคม พ.ศ – 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461

7 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (Robert Yerkes) แบบทดสอบ Army
Alpha, Army Beta (Group Testing) ค.ศ การศึกษาวิจัย “กรณีศึกษาของฮอร์ทอร์น” ค.ศ หนังสือ “Industrial and Organization Psychology)” พ.ศ (สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย) ประชุมใหญ่ พ.ศ เริ่มมีการสอนจิตวิทยาอุตสาหกรรมในสถาบัน อุดมศึกษาไทย

8 ขอบข่ายของจิตวิทยาอุตสาหกรรม
1. สภาพแวดล้อมต่างๆ ทางธุรกิจ 2. สถานการณ์ที่มีอิทธิพลเกี่ยวข้อง สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร 1. พฤติกรรมองค์กร 2. จิตวิทยาบุคคล 3. จิตวิทยาวิศวกรรม 4. การพัฒนาองค์กร 5. การให้คำปรึกษาอาชีพ 6. แรงงานสัมพันธ์

9 ลักษณะอาชีพของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
1. เป็นลูกจ้างขององค์กรอุตสาหกรรม 2. เป็นองค์กรให้คำปรึกษา 3. เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ข้อจำกัดของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 1. สถานะของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม 2. ปัญหาการสื่อสาร 3. การขัดขวางการเปลี่ยนแปลง


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google