ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
คณะศึกษาศาสตร์ กำแพงแสน มก.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
เศรษฐกิจพอเพียง.
การวางแผนกลยุทธ์.
การค้ามนุษย์.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การค้ามนุษย์.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
กราฟเบื้องต้น.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การพัฒนาสังคม Social Development 9 : 22 ต.ค. 60.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)

ทฤษฎีและแนวคิด การพึ่งพา Dependency Theory

การปฎิรูปการจัดระบบสังคมใหม่ Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) แนวความคิดและทฤษฎีที่พยายามตอบโต้และ ปฏิเสธข้อเสนอหลักของทฤษฎีภาวะทันสมัย อาศัย : - แนวความคิดเศรษฐกิจการเมือง (Political Economic) - แนวความคิดประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ (Historical Economy) การปฎิรูปการจัดระบบสังคมใหม่

การพัฒนาขึ้นอยู่กับสถานการณ์เงื่อนไขที่แท้จริง Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) การพัฒนา : พิจารณาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง รวมถึงวัฒนธรรม และจริยธรรมของแต่ละประเทศ การพัฒนาขึ้นอยู่กับสถานการณ์เงื่อนไขที่แท้จริง Concrete Situations

Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) การพัฒนา : - ภาวะความยากจนของประเทศกลุ่มโลกที่ 3 ไม่ได้มี ตั้งแต่กำเนิดประเทศ แต่ผลจากกระบวนการถูกเอารัดเอา เปรียบและขูดรีด - การจัดหา และส่งทรัพยากรให้ประเทศทุนนิยม อุตสาหกรรมที่เป็นศูนย์กลาง/ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายใต้เงื่อนไขของการแลกเปลี่ยนที่ไม่เท่าเทียมกัน

การบริหารและวัฒนธรรม” ที่มาของแนวคิด 1. ความล้มเหลวของทฤษฎีภาวะทันสมัย ข้อเสนอหลักทฤษฎีภาวะทันสมัย ถูกพิสูจน์และวิจารณ์ ตามข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data) “ตัวแบบการสร้างความเจริญเติบโตจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ การบริหารและวัฒนธรรม” แต่ “ภาวะด้อยพัฒนาก็เห็นอย่างชัดเจน” ยิ่งพัฒนายิ่งด้อยพัฒนา/การพัฒนาภาวะด้อยพัฒนา (Development of Underdevelopment)

ที่มาของแนวคิด 2. ความเจริญของประเทศที่พัฒนาแล้ว เกิดจากการ ขูดรีดประเทศที่ด้อยพัฒนา ความด้อยพัฒนาของกลุ่มประเทศโลกที่ 3 เกิดจาก อิทธิพลการขยายตัวและการขูดรีดของระบบการผลิต และการค้าแบบทุนนิยม ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียม กันทางสังคมเกิดขึ้น 4. บทบาทและอิทธิพลนักสังคมศาสตร์ลาตินอเมริกัน โจมตี ทฤษฎีภาวะความทันสมัย - ทฤษฏีภาวะทันสมัยล้มเหลวที่สุด - นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนนำเข้า ทำให้ ประเทศพึ่งพาประเทศทุนนิยมตะวันตกมากขึ้น

ความหมายการพึ่งพา (The Meaning of Dependency) “การพึ่งพา” = เงื่อนไขสถานภาพของประเทศกำลัง พัฒนาดำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า สินค้าอุตสาหกรรม (Import-Substituting Industrialization : ISI) โดยพึ่งพาประเทศทุนนิยมตะวันตกอย่างมาก ด้าน : สินค้าประเภททุน เทคโนโลยีการผลิต ผู้เชี่ยวชาญ/ชำนาญการ เงินลงทุนจากต่างประเทศ การศึกษา วัฒนธรรมและสังคม ฯลฯ

ความเป็นมา ประสบการณ์จากผลการพัฒนาของกลุ่มประเทศ Latin America ซึ่งทำการพัฒนาไปสู่ความทันสมัย โดยอาศัย ความช่วยเหลือจากภายนอกทำให้เกิดเงื่อนไขการพึ่งพา 1. พึ่งพาสินค้าอุตสาหกรรม (วัตถุดิบและอุปกรณ์) สั่งซื้อ/ นำเข้า 2. พึ่งพา Technology สำหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ในทุกสาขา (ละทิ้งของเดิม) 3. พึ่งพาทุนจากภายนอก ทำให้รูปแบบกระบวนการผลิต และพฤติกรรมการบริโภคต้องเปลี่ยนแปลง

ความเป็นมาแนวคิดและทฤษฎี 4. พึ่งพาเงินทุนต่างๆ เพื่อลงทุน/พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การก่อหนี้ ทำให้ขาดความเป็นตัวของตัวเอง 5. พึ่งพาผู้เชี่ยวชาญภายนอก ทำให้การกำหนดนโยบาย และแผนต่างๆ : ผูกพันกับเงื่อนไขภายนอกอย่างมาก : ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในประเทศ : ขาดความเป็นอิสระการกำหนดนโยบาย (การคิดค้นและความเชื่อมั่นในภูมิปัญญา)

ความเป็นมาแนวคิดและทฤษฎี 6. พึ่งพาทางวัฒนธรรม สังคม และการเมือง ทำให้สังคม เปลี่ยนแปลง/เลียนแบบต่างชาติ : ขาดคุณลักษณะเฉพาะ/เอกลักษณ์ดั้งเดิมตนเอง : วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลง : ขาดความร่วมมือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม (ภายใต้ความหลากหลายของอนุวัฒนธรรม) : การแตกสลายของสถาบันครอบครัว ศาสนา การ ศึกษาและการเมือง

ความเป็นมาแนวคิดและทฤษฎี 7. พึ่งพาทางการทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และความรู้ ทำให้การจัดองค์กร และยุทธศาสตร์ถูกพัฒนาให้ไปใน แนวทางแบบตะวันตก 8. พึงพาจิตสำนึกและจิตวิญญาณแบบพึ่งพา 9. พึงพาความมั่งคงที่ได้ผลจากการพัฒนาตกอยู่กับบุคคล กลุ่มเดียว

ลักษณะการครอบงำภายใต้ภาวะพึ่งพา 1. ทางเศรษฐกิจ (Economic) ลงทุนผลิต นายทุนต่างชาติ การค้า ผ่าน บรรษัทข้ามชาติ (Translation Corporation) ร่วมมือประสาน องค์กร/โครงการ รัฐบาล นายทุนในประเทศ ประเทศที่ 3 ด้อยพัฒนา

: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : : ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : ประเทศโลกที่ 3 พัฒนาตามแนวทางภาวะทันสมัย ทำให้ ต้องพึ่งพาประเทศโลกที่ 1 มากขึ้น - ไม่มีทุน - ไม่มีเทคโนโลยี - ไม่มีความรู้ - ไม่มีความสามารถ - ไม่มี… ฯลฯ กลายเป็น “สังคมบริวาร” (Peripheral Society)

P P P เกิด Xyphon off W.I P P P P P P

ผลการครอบงำทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น 2 ประการ : 1.1 การผูกขาด ทางการตลาดมีการขยายตัว 1.2 นายทุนในประเทศเติบโตค่อนข้างช้า ส่วนใหญ่ เป็นนายทุนการค้ามากกว่านายทุนอุตสาหกรรม และถูกครอบงำจากนายทุนต่างชาติ โดยตัดสินใจ ดำเนินงานนโยบายการค้าและการผลิตเพื่อ ประโยชน์ตนระยะสั้นมากกว่าระยะยาว

2. ทางการเมือง (Political) รัฐบาลประเทศด้อยพัฒนาดำเนินนโยบายตามคำ แนะนำของรัฐบาลประเทศทุนนิยมตะวันตก ผ่าน องค์กรความช่วยเหลือระหว่างประเทศ/การทหาร ฯลฯ แทรกแซง

บทบาทและอิทธิพลนักสังคมศาสตร์ลาตินอเมริกัน แนวความคิดเชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง : ปรับโครงสร้างสังคมและการเมือง/วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เชิงครอบงำและขูดรีด แนวความคิดเชิงเศรษฐศาสตร์โครงสร้าง : ลักษณะการแลกเปลี่ยนที่ไม่เป็นธรรมระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมกับประเทศเกษตรกรรม

แนวความคิดของนักทฤษฎีพึ่งพา : ทฤษฎีพึ่งพามีสาขาความคิดแตกออกมากมายและใช้แนวทางวิเคราะห์ทางปรากฏการณ์ประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกัน - Marxists Socialist - Political Economy Capitalist 1) Furnando Henriqe Cardoso 2) Andre’ Gunder Frank 3) Thiotonio Dos Santos

Johan Galtung เสนอแนวคิดเรื่อง Structural Imperialism กล่าวว่า ระบบโครงสร้างสังคมปัจจุบัน ทุกสังคมแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นศูนย์กลาง (Metropolis/Center) คือ กลุ่มที่มี พลัง/อำนาจในการครอบครอง/เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย เงินทุน เทคโนโลยี ระบบเครือข่าย และการขนส่ง ส่วนที่เป็นบริวาร (Satellite/Periphery) คือ กลุ่มที่อยู่ กระจัดกระจายโดยรอบ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลไกการผลิต เป็นกลุ่ม ผู้ใช้แรงงานที่มีความชำนาญและทักษะในการทำงาน มีทรัพยากร

ศบ Sattlelite Metropolis ศศ บศ บบ บริวารของศูนย์กลาง (บศ) ศูนย์กลางของเมือง ศูนย์กลาง (ศ ศ) ศูนย์กลางของเมืองบริวาร (ศบ) บริวารของบริวาร (บบ) Metropolis Sattlelite ศบ ศศ บศ บบ

ความสัมพันธ์ลักษณะการเข้าครอบครอง 1. โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเมืองศูนย์กลางกับ เมืองบริวาร ศูนย์กลางของเมืองศูนย์กลาง ศูนย์กลางของเมืองบริวาร บริวารของบริวาร บริวารของศูนย์กลาง

2. กลไกการเข้าควบคุมระบบความสัมพันธ์ 4 (Helge Hveen) 2.1 ศูนย์กลางเมืองศูนย์กลางจะสร้างศูนย์กลางของบริวารขึ้นในประเทศที่กำลังพัฒนา 2.2 ศูนย์กลางของเมืองศูนย์กลางจะเข้าไปควบคุมการ บริหารของศูนย์กลางของเมืองบริวาร 2.3 ศูนย์กลางของเมืองศูนย์กลางจะเข้าควบคุมความ ร่วมมือและการสะสมทุน (เงินรายได้ถูกแบ่งเป็นการสะสมทุนกับการ ลงทุน) ของศูนย์กลางเมืองบริวาร 2.4 ศูนย์กลางของเมืองศูนย์กลางจะเข้าควบคุมการ ตัดสินใจของระบบทั้งหมดของศูนย์กลางเมืองบริวาร

นักทฤษฎีกลุ่มก้าวหน้า (Radicals Theory) กลุ่มที่มีแนวคิดอย่างเด่นชัดปฏิเสธความเป็นไปได้ของ การแยกประเด็นทางเศรษฐกิจออกจากประเด็นทางสังคม : การเสนอตัวแบบการพัฒนา (Development Model) ของนักเศรษฐศาสตร์ จะไม่เพียงพอต่อการวิเคราะห์ปัญหา และการเสนอทางออกสำหรับสังคมของประเทศที่กำลังพัฒนา การพัฒนาตามแนวคิดความทันสมัยที่กล่าวว่า “ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่กำลังพัฒนา จะสำเร็จด้วยการพัฒนาอุตสาหกรรมและเมืองแบบประเทศ ตะวันตก จะส่งผลการพัฒนาให้แพร่กระจายไปทั่วประเทศ” : เป็นข้อเสนอที่ไม่เป็นจริง

Theotonio Dos Santos กล่าวว่า “การพัฒนาแนวพึ่งพา เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งหวัง การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ภายใต้กลไกการค้าโลก ซึ่งประเทศที่ด้อยกว่าจะต้องพึ่งพา ประเทศที่เหนือกว่า โดยคาดหวังว่าจะสามารถสร้างความ เจริญเติบโตไปสู่การเลี้ยงตัวเอง

1. แนวคิดของนักวิชาการในสายยุโรป หรือกลุ่มนักทฤษฎี 1. แนวคิดของนักวิชาการในสายยุโรป หรือกลุ่มนักทฤษฎี สถาบันสังคมใหม่ (Neo-institutional Social Theory : NIST) แกนนำ : Myrdal, Seers and Streeten ชี้ว่า 1) แนวคิดเศรษฐศาสตร์ดั้งเดิม (Neo-Classic) ไม่ สามารถใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์เพื่อแก้ไข ปัญหาให้เกิดผลดีต่อกลุ่มประเทศโลกที่สาม ความสำคัญที่แท้จริง จะต้องพิจารณาถึงบริบททาง สังคมและสถาบัน (Social and Institutional Context)

3) จะต้องพิจารณาบริบทของเศรษฐกิจโลก (World Economic Context) ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการ กำหนดทิศทางของโลกที่ 3 (ระบบเศรษฐกิจโลกได้ แบ่งกลุ่มตามระดับการพัฒนาออกเป็น 3 ระดับ - กลุ่มผลประโยชน์ G.8 - กลุ่มที่พัฒนาแล้ว - กลุ่มที่กำลังพัฒนา

2. แนวคิดของนักวิชาการในสายลาตินอเมริกากลุ่ม 2. แนวคิดของนักวิชาการในสายลาตินอเมริกากลุ่ม แกนนำทางความคิดที่สำคัญ คือ Furnondo Henrique Cardoso กลุ่มนี้ชี้ให้เห็นถึง “โครงสร้างของความสัมพันธ์ระหว่างพลังอำนาจและ ภายในประเทศ” : วิเคราะห์ “การขูดรีดและการเอารัดเอาเปรียบที่เกิดขึ้น จากเงื่อนไขของการพึ่งพา” เป็นผลประโยชน์ร่วมกันระหว่าง ชนชั้นที่มีอิทธิพลภายในประเทศกับภายนอกประเทศ

: Dos Santos กล่าวว่า การพึ่งพามีลักษณะเป็นสถานการณ์เชิงเงื่อนไข (Conditioning Situation) กล่าวคือ ระบบเศรษฐกิจของกลุ่ม ประเทศที่กำลังพัฒนาหนึ่งๆ จะอยู่สภาพอย่างไรขึ้นอยู่กับ “การพัฒนาและการขยายตัวของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว” “การพึ่งพาที่อยู่บนพื้นฐานของการแบ่งแยกงานระหว่าง ประเทศ” เป็นผลให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเกิดขึ้นเพียงบาง ประเภท และถูกจำกัดให้มีในบางประเทศ คือ ความเจริญ ก้าวหน้าเป็นเงื่อนไขที่ถูกกำหนดโดยประเทศศูนย์กลาง

สำหรับประเทศบริวาร/ประเทศด้อยพัฒนา Samir Amin สรุปว่า รูปแบบทางสังคมจะมีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1) เกษตรกรรมเป็นแกนสำคัญของระบบเศรษฐกิจของ ประเทศที่กำลังพัฒนา การขยายตัวของทุนนิยมมุ่งเข้า สู่สังคมเกษตรกรรม ทำให้ต้องสูญเสียและรับผลกระทบ ที่เกิดขึ้น 2) การเกิดขึ้นของกลุ่มชนชั้นกลางและนายทุนชาติใน สังคมที่กำลังพัฒนา ส่วนใหญ่เป็นนายทุนทางการค้า (Merchantile Capitals) และยังต้องตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของนายทุนต่างชาติ

3) การขยายตัวระบบราชการเกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและ 3) การขยายตัวระบบราชการเกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและ ต่อเนื่อง จนมีอิทธิพลแทรกซึมและครอบงำการดำเนิน งานสังคมและชุมชนต่างๆ อย่างทั่วถึง 4) การเกิดขึ้นของชนชั้นกรรมาชีพทั้งในและนอกสังคม เกษตรกรรม เป็นปรากฏการณ์ที่ไม่สมบูรณ์หรือไม่ สามารถทำให้เป็นจริงได้

3. แนวคิดของนักวิชาการกลุ่มทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) การประมวลทั้ง 2 แนวคิดเข้าด้วยกัน พบว่า บทบาทของ นายทุนการค้าถือเป็นตัวกลางที่สำคัญของการโยกย้ายสินค้า จากประเทศโลกที่ 3 ไปยังประเทศตะวันตก ภายใต้เงื่อนไข การค้าและอัตราแลกเปลี่ยนที่ประเทศทุนนิยมได้เปรียบ : ประเทศทุนนิยมไม่จำเป็นที่จะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมใน กระบวนการผลิต = ไม่ต้องรับผิดชอบ

ปัญหา : - ความแข็งแกร่งของนายทุนการค้าในวิถีการผลิตก่อน ทุนนิยม จนเป็นอุปสรรคขัดขวางการเกิดขึ้นของนายทุน อุตสาหกรรม - ทำให้สภาพทุนนิยมพัฒนาเกิดขึ้นอย่างเชื่องช้า - การสะสมทุนของประเทศทุนนิยมศูนย์กลาง ในประเทศ ที่กำลังพัฒนาจะเป็นไปอย่างจำกัด เว้นแต่จะมีอิทธิพลที่ สามารถเข้าครอบงำโครงสร้างทางการเมืองของประเทศบริวาร ทำให้ประเทศบริวารไม่สามารถพัฒนา/เจริญเติบโตอย่างอิสระ บนลำแข้งของตนเอง

ทฤษฎีและแนวคิดหลัก 1. Marxists School นักคิดกลุ่มทฤษฎีนี้มองการ พัฒนาของทุนนิยมโลก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.1 Classical Marxists อธิบายว่า นักเศรษฐศาสตร์ ทุนนิยมกล่าวว่า “เศรษฐกิจแบบทุนนิยม” เป็นระบบของการ แข่งขันอย่างเสรีทั้งรูปแบบการลงทุน การผลิต ค่าจ้างแรงงาน และผู้ประกอบการจะนำผลกำไรขยายงาน การขยายตัวระบบทุนนิยมทำให้เกิดความต้องการ ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ มีการพัฒนา หรือหาวิธีการ ผลิตและแหล่งตลาดใหม่ๆ

ทฤษฎีและแนวคิดหลัก ข้อเท็จจริง : - ผู้ประกอบการที่มีทุนมากที่สุดจะเป็นผู้อยู่รอด และทำ กำไรสูงสุด เพราะการแข่งขันต้องมีผู้แพ้และผู้ชนะ - ผู้ประกอบการหรือคู่แข่งที่มีขนาดเล็กหรือทุนน้อยจะถูก กำจัดออกไปจากระบบเศรษฐกิจ - การดำเนินการจะคำนึงถึงต้นทุนและค่าจ้างแรงงานที่ให้ ต่ำที่สุด สถานการณ์จะนำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น และ ผลักดันให้สังคมปรับเปลี่ยนไปสู่สังคมแบบสังคมนิยม

แนวคิดเชิง Classical Marxists ฐานความคิดแตกต่างกัน 2 นัย คือ 1.1) แนวคิดของ Karl Marx มองว่า ความคิด เชิงอุดมคติแบบทุนนิยม ไม่ต้องการที่จะแสวงหาดินแดน หรืออาณาจักรอันเป็นบริวาร แม้ว่ารัฐหรือดินแดนเหล่านี้ จะเป็นพื้นที่ที่สามารถทำประโยชน์กำไรให้ ทั้งนี้ เพราะความสัมพันธ์ที่มีกับทุนนิยมภายนอก หรือทุนนิยมสากลจะเป็นกลไกหรือเป็นสื่อกลางที่นำไปสู่ ระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้า (Trade Economy) แต่ละรัฐหรือ สังคมไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบสังคมตนเอง จึงจะ เข้าสู่ตลาดโลก

1.2) แนวคิดของ Nikolai Bukharin และ Vladimir Lenin มองว่า ระบบทุนนิยมเป็นผลพวง ที่เกิดจากพัฒนาการของ “ระบบจักรวรรดินิยม” (Imperialism) เมื่อพิจารณาสภาพต่างๆ ระดับนานาชาติ (Internationalization) พบว่า การต่อสู้หรือการ แข่งขันของนายทุนยังคงดำเนินอยู่ต่อไป และจะ พัฒนาไปสู่ระบบทุนนิยมข้ามชาติตามมา

ฐานแนวคิดเชื่อว่า“ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเข้าครอบงำ ประเทศที่ด้อยพัฒนา” “การเข้าครอบงำ” จะครอบคลุมรวมถึงดินแดน ระบบ การเมือง การทหาร รูปแบบทางเศรษฐกิจและอื่นเพื่อให้เป็น สังคมประเทศที่จะต้องรับใช้ระบบ ตลอดจนเป็นจักรวรรดิร่วม สงคราม นอกจากนี้ กลุ่มนักคิดยังคาดการณ์ว่า “การแข่งขันกัน ระหว่างจักรวรรดินิยมด้วยกันเอง” จะนำไปสู่ภาวะสงคราม อย่างหลีกหนีไม่พ้น

“สินค้าส่งออกเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสร้างทุน” สินค้าส่งออก จะเป็นเงื่อนไขสำคัญในการเร่งรัดการ พัฒนาประเทศด้อยพัฒนา และกระบวนการระบบเศรษฐกิจ ของประเทศที่พัฒนา - กรรมกรหรือผู้ใช้แรงงานในภาคการผลิตของระบบ จักรวรรดินิยมศูนย์กลาง ได้รับผลประโยชน์จากความสำเร็จ ของการพัฒนาประเทศที่มีความเสี่ยงน้อย/ ได้รับผลกระทบ ทางลบที่มีขอบเขตจำกัด จักรวรรดินิยมบริวาร จะถูกเอารัดเอาเปรียบและมีความเสี่ยง บนความเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีช่องว่างอย่างมาก

ทฤษฎีและแนวคิดหลัก 2. Political Economy School มองพัฒนาการ ของทุนนิยมว่า “เป็นพัฒนาการของระบบ และกระบวนการเอา รัดเอาเปรียบโดยการขูดรีดผลประโยชน์จากสังคมหนึ่งไปสู่ อีกสังคมหนึ่ง กล่าวคือ : ความเจริญเติบโตของประเทศหนึ่งๆ หรือประเทศที่ พัฒนาเกิดจากการเข้าไปแสวงหาผลประโยชน์ที่เอาเปรียบ ประเทศด้อยพัฒนา โดยผ่านกระบวนการพัฒนา ทำให้สภาพ ของการพัฒนาเป็น “การพัฒนาภาวะความด้อยพัฒนา “ (Development of underdevelopment)

กลุ่มนักคิด Political Economy School ประกอบด้วย นักคิดและนักวิชาการหลายคนที่มีชื่อเสียง เช่น - Baran - Emmanual - Amin - Frank - Wallerstein - อื่นๆ Paul Baran มีแนวคิดว่า โลกของระบบเศรษฐกิจมี 2 ส่วน คือ ประเทศทุนนิยมที่ก้าวหน้า ประเทศด้อยพัฒนา

ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในแง่กลไกความสัมพันธ์ของการพัฒนาระหว่าง 2 กลุ่ม ประเทศผูกพันกันด้วยองค์ประกอบ 3 ประเด็น คือ 1. การค้า ประเทศด้อยพัฒนาจะเป็นแหล่งสำหรับการจัดหา ทรัพยากรสำหรับการผลิตขั้นต้นที่มีราคาถูก ส่งไปให้ประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ขณะเดียวกัน อุตสาหกรรมท้องถิ่น และหัตถกรรม ต่างๆ ถูกกดดันให้ถดถอยลง โดยสินค้าที่นำเข้าจากประเทศ พัฒนาแล้ว เช่น สินค้าอุปโภคและบริโภคทำให้อุตสาหกรรม ดั้งเดิมที่มีอยู่ถูกทำลาย

ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2. การลงทุน ตามแนวคิดที่ว่า การพัฒนาประเทศของประเทศด้อย พัฒนามีความจำเป็นที่จะต้องใช้ทรัพยากรอย่างมากในหลายๆ ด้านสำหรับการลงทุน โดยจะต้องระดมทั้งจากภายนอก และ ภายในประเทศ จึงจะสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ ประเทศพัฒนาแล้วจะแสวงหาผลประโยชน์จากกลไก ด้วยการดูดซับมูลค่าส่วนเกิน (Surplus Value) ขณะเดียวกัน ก็ค่อยๆ ขยับเข้าครอบครองเศรษฐกิจด้วยการผูกขาด

ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 3. การมีอิทธิพลทางการเมือง ส่วนใหญ่การเมืองของประเทศด้อยพัฒนามักล้าหลัง รัฐบาลอยู่ภายใต้อิทธิพลของการทหาร นายทุนและกลุ่มพ่อค้า ประเทศพัฒนาแล้วพยายามที่จะใช้การทหารเข้าไป ค้ำจุนอำนาจของรัฐบาลหรืออาจเข้าไปมีอิทธิพลในการจัดตั้ง รัฐบาลเพื่อรักษาและคุ้มครองผลประโยชน์ของนักลงทุนจาก ประเทศของตนให้ได้มาก และสามารถนำผลกำไรประกอบการ กลับไปประเทศของตน

(The Political Economy of Growth) Paul A. Baran และ Paul M. Sweezy เห็นว่า การพัฒนาแบบที่ผ่านมาจะนำไปสู่การสร้าง : “ระบบทุนนิยมผูกขาด” (Monopoly Capital) ทำให้ประเทศด้อยพัฒนาทั้งหลายจะถูกครอบงำ โดยทุนนิยมต่างชาติรูปแบบต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับ นายทุนท้องถิ่น นายทุนการค้า หรือนายทุนที่ดิน จะ เรียกแนวคิดนี้ว่า “เศรษฐศาสตร์การเมืองเพื่อการสร้างความเจริญเติบโต” (The Political Economy of Growth) โดยวิภาษวิจารณ์โจมตีทฤษฎีความทันสมัยว่า เป็นทฤษฎี ที่ไม่สามารถเข้าถึงและอธิบายสาเหตุของความด้อยพัฒนาได้ อย่างแท้จริง

ข้อวิภาษวิจารณ์ ประเด็นสาระการโจมตีทฤษฎีความทันสมัยว่า ล้มเหลวโดย ตอบโต้และปฏิเสธข้อเสนอหลักของทฤษฎีความทันสมัย 1. “ตัวแบบการสร้างความเจริญเติบโตจะก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและการบริหาร และวัฒนธรรม” แต่ภาวะด้อยพัฒนาก็เห็นอย่างชัดเจน “ยิ่งพัฒนายิ่ง ด้อยพัฒนาหรือการพัฒนาภาวะด้อยพัฒนา” (Development of Underdevelopment) เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data) ที่เกิดขึ้นจริง

2. แนวคิดทุนนิยมไม่ได้ให้ความสำคัญกับความแตกต่าง ข้อวิภาษวิจารณ์ 2. แนวคิดทุนนิยมไม่ได้ให้ความสำคัญกับความแตกต่าง ระหว่างชนชั้น ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของประเทศด้อยพัฒนา/ กำลังพัฒนา 3. ทฤษฎีความทันสมัยคำนึงถึงการแลกเปลี่ยนผลกำไร และผลผลิตในระบบโลก ประเทศทุนนิยมศูนย์กลางจะมีความ สัมพันธ์แบบสังคมบริวาร (Peripheral Society) เอาเปรียบ ประเทศบริวารด้วยการดูดซับผลกำไรจากการค้า การแลก เปลี่ยนที่ไม่เท่าเทียมกันหรือการให้บรรณาการ

ตัวแบบหรือแนวคิดหลัก 1. ภาวะด้อยพัฒนาไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา สภาพ สังคมด้อยพัฒนา อาจไม่ใช่ความด้อยพัฒนา (อย่างที่ เป็นในสายตาของตะวันตก) สิ่งที่มี สิ่งที่เป็นเหล่านั้น อาจเป็นคุณค่าในลักษณะที่เหมาะสมอยู่แล้ว : เครื่องจักรสาน การกัดปลา/ชนไก่ การเพาะปลูก บูชาพระเครื่อง ประเพณี/วัฒนธรรม

ตัวแบบหรือแนวคิดหลัก 2. การพัฒนาประเทศทุนนิยมศูนย์กลางที่เจริญเติบโต ด้วยการดูดซับทรัพยากรจากประเทศบริวาร ส่วนใหญ่ ทำให้ประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายไม่เพียงจะเติบโต ช้ากว่าที่ควรจะเป็น แต่อาจจะไม่เติบโตเนื่องจากผล การพัฒนาถูกเปลี่ยนแปลงให้อยู่ในสภาพที่การดูดซับ ดำรงอยู่อย่างถาวร ส่งผลให้ “การพัฒนาคือ ความ ด้อยพัฒนา”

ตัวแบบหรือแนวคิดหลัก 3. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแฝงไว้ด้วยความทันสมัย แต่ อาจไม่ใช่การพัฒนา (ความหมายของการพัฒนาที่ เหมาะสม) หรือเป็นการพัฒนาที่ก่อให้เกิดปัญหาใหม่ๆ ที่ต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่

ตัวแบบหรือแนวคิดหลัก 4. แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ต้องการให้ระบบเป็น ทุนนิยมเสรี แต่สภาพที่เป็นจริงกลับเป็น ทุนนิยมผูกขาด เพราะการสะสมทุนกระจุกตัวอยู่กับ คนกลุ่มเดียว ทุนนิยมพึ่งพา ผลประโยชน์สุดท้ายของกระบวนการ พัฒนาตกอยู่กับบริษัทต่างชาติ แม้กระทั่งทุนชาติยัง เติบโตได้ยาก เพราะการพัฒนาถูกเร่งรัดให้ไปอยู่ใน อัตราการสะสมทุนในประเทศอย่างอิสระเกิดขึ้นไม่ เพียงพอสำหรับลงทุนใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง (ไม่มีชน ชั้นกลางที่แท้จริง) ส่วนใหญ่ฐานะไม่ดี

ตัวแบบหรือแนวคิดหลัก 5. ทางออกสำหรับประเทศโลกที่ 3 คือ การปลดเปลื้อง ภาวะการพึ่งพากับระบบทุนนิยมศูนย์กลาง สรุปว่า การพัฒนา คือ การปฏิรูปการจัดระเบียบสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่จะนำไปสู่ความเป็นตัวของ ตัวเอง

Furnando Henrique Cardoso: ชาวบราซิลเสนอแนวความคิด ความสัมพันธ์ระหว่างพลังอำนาจภายใน + ภายนอก ด้วยการวิเคราะห์ : - การขูดรีด - การเอารัดเอาเปรียบ ซึ่งเกิดจากเงื่อนไขการพึ่งพาที่ไม่ใช่ภายนอกอย่างเดียว แต่เป็นผลประโยชน์ร่วมระหว่างชนชั้นที่มีอิทธิพลภายใน กับภายนอกประเทศ ลักษณะการพึ่งพาเชิงโครงสร้าง

- บรรษัทข้ามชาติ - รัฐบาล พลังอำนาจภายนอก - เทคโนโลยี - ระบบการเงิน - เทคโนโลยี - ระบบการเงิน - ผู้เชี่ยวชาญทางเศรษฐกิจ & ทหาร ฯลฯ พลังอำนาจภายใน - รัฐบาล - นักการเมือง - นายทุน/ผู้ประกอบการ/พ่อค้า - นโยบาย/มาตรการ

อิทธิพลการครอบงำในรูปการใช้พลังในประเทศ โดย: - กลุ่มภายในประเทศที่มีผลประโยชน์ และค่านิยม สอดคล้องกับนายทุนต่างชาติจะเอื้อและใช้พลังให้เป็น ประโยชน์ต่อพลังภายนอก Codoso : ยอมรับภาวะจำกัดของการพัฒนาทุนนิยมใน ประเทศกำลังพัฒนาเกิดจากอิทธิพลทางพึ่งพาที่มากับ จักรวรรดินิยม : หากปรับเงื่อนไขบางอย่างโอกาสการ พัฒนาทุนนิยมเกิดขึ้นได้ถ้ารับความร่วมมือจากพลัง ภายนอก แต่ทุนนิยมเป็นทุนนิยมพึ่งพา

การพัฒนาเศรษฐกิจประเทศด้อยพัฒนาใช้แนวทาง Andre’ Gunder Frank ชาวเยอรมันที่ใช้วิธีการศึกษา : เสนอ : การพัฒนาเศรษฐกิจประเทศด้อยพัฒนาใช้แนวทาง ตะวันตกไม่ได้ เพราะความสัมพันธ์ประเทศทุนนิยมกับ ประเทศกำลังพัฒนาเป็นแบบศูนย์กลางกับบริวาร - ประเทศกำลังพัฒนาจะพัฒนาได้ต้องปลดเปลื้อง ภาระผูกพันกับประเทศทุนนิยม - ความขัดแย้งในระบบทุนนิยมจะเกิดการต่อสู้ ระหว่างชนชั้น ปฏิวัติ สังคมนิยม เศรษฐศาสตร์การเมือง

“ ภาวะพึ่งพานำประเทศลาตินล้าหลังและมืดมน Thiotonio Dos Santos ชาวบราซิลเสนอแนวความคิดทฤษฎีพึ่งพา ลักษณะใหม่ : “ ภาวะพึ่งพานำประเทศลาตินล้าหลังและมืดมน การพัฒนาทุนนิยมเป็นประโยชน์แก่คนกลุ่ม เดียวเท่านั้น” แก้ไข โดย Popular Movement

- ลักษณะเฉพาะทางความสัมพันธ์ทางการเมือง สาระสำคัญของทฤษฎี : จุดมุ่งหมายการพัฒนา : ประเทศกำลังพัฒนาต้องปฏิรูประบบโครงสร้างทาง เศรษฐกิจ การเมืองและสังคมให้สอดคล้องกับ - ลักษณะเฉพาะทางความสัมพันธ์ทางการเมือง - คุณลักษณะทางวัฒนธรรมและจริยธรรมประเทศตนเอง จะเป็นแนวทุนนิยม/สังคมนิยม? อะไรก็ได้ขึ้นกับ สถานการณ์เงื่อนไขที่แท้จริง (Concrete Situations)

ภาวะด้อยการพัฒนา : เกิดจาก ความไม่เท่าเทียมกันทางโครงสร้างไม่ใช่เกิดจากอุปสรรค ทางเศรษฐกิจภายในประเทศด้อยพัฒนา ข้อเสนอการพัฒนา การเปลี่ยนโครงสร้างอย่างไม่รุนแรงปรับจากสภาพเดิม โดยไม่ถอนรากถอนโคน : ใช้โครงสร้างเดิมมาสู่การพัฒนา : ใช้วิธีการเจรจาต่อรองกับประเทศโลกที่ 1 : Engagement :- “การปฏิรูป” -:

: ไม่เสนอทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงเทคนิควิธี : :- “การปฏิวัติ” -: การปรับโครงสร้างอย่างถอนรากถอนโคน หรือใช้วิธี การตัดขาดการพึ่งพากลุ่มประเทศโลกที่ 1 : Political Disengagement : ไม่เสนอทฤษฎีแบบกระบวนการเชิงเทคนิควิธี :

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและตัวแบบ ทฤษฎีพึ่งพาไม่ได้เสนอกระบวนการในเชิงเทคนิค/ กลไกชัดเจน (Mechanicaformal Formulation) เพราะ : 1) ไม่มีรูปแบบสำเร็จรูปที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมทุกสังคม ในการพัฒนา 2) นักวิชาการทฤษฎีพึ่งพาอาศัยข้อมูลพื้นฐานสังคม (Base Line Sociological Data) เกี่ยวกับภาวะด้อย พัฒนาของภูมิภาคมาวิพากษ์ และสร้างข้อเสนอให้ โลกที่ 3

1. วิเคราะห์ชี้ปัญหาการพัฒนา ความก้าวหน้าของสังคมเมือง & ความล้าหลังของสังคมชนบท : Dualistic Society สังคมทวิลักษณ์ การละเลยภาคเกษตรกรรมหลัก & การส่งเสริมลงทุนภาคอุตสาหกรรม : สิ่งอำนวยความสะดวก/บริการอยู่เขตภาคอุตสาหกรรม การกระจายรายได้แตกต่างกัน ทำให้อัตรารายได้ต่ำกว่า “เส้นวัดความยากจน” มากกว่า 20 % แต่อัตราเหนือเส้นนี้ที่มีรายได้สูงน้อยกว่า 20 %

ปัญหาการค้าระหว่างประเทศโลกที่ 1 & โลกที่ 3 ที่มีการ กำหนดเงื่อนไขทางการค้า : กลุ่ม G8 = 1 กลุ่ม G77 = 3 กีดกันทางการค้า ขูดรีด/เอาเปรียบกัน

รัฐ/ราชการ + นายทุนผลประโยชน์ การผูกขาดตลาดต่างๆ เกิดขึ้นในประเทศและต่างประเทศ - การค้า - การบริหาร - วัฒนธรรม - อำนาจการเมือง อื่นๆ – ทุน ความล้าหลังทางการเมืองที่เกิดจากการผูกขาดในกลุ่ม ข้าราชการ & นายทุน รัฐ/ราชการ + นายทุนผลประโยชน์

ระบบเศรษฐกิจ “Concrete Situation” 2. การพัฒนาต้องพิจารณาเงื่อนไขสภาพสถานการณ์จริง ในระบบสังคมนั้นๆ โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง : ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมือง ระบบสังคม ระบบวัฒนธรรม “Concrete Situation”

ความปรารถนาสำคัญสังคมกำลังพัฒนา : การปลดเปลื้อง/สลัดภาวะพันธนาการของการพึ่งพาที่ แฝงด้วยความไม่เท่าเทียมออกจากสังคม นำไปสู่ : - ภาวการณ์พึ่งพาระหว่างกัน (Interdependence) ที่ ปราศจากการครอบงำและขูดรีด ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) ทั้งระดับ บุคคลและระดับประเทศ

การลดเงื่อนไขการพึ่งพา : - เพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองทั้งหมด โดยเฉพาะทาง เทคโนโลยี - เพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาต่อรองกับบรรษัท ข้ามชาติ/ประเทศทุนนิยม

หลักการพื้นฐานของแนวคิด 1. วิธีแบบทฤษฎีสังคมวิภาษ (Critical Theory) 1.1 วิพากษ์ทุกสิ่งทุกอย่างในสังคมและความเกี่ยวพัน 1.2 วิเคราะห์จากสภาพสังคมที่เป็นจริงตามข้อเท็จจริงด้วย ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data) 1.3 วิเคราะห์โดยใช้แนวทางวิภาษ (Dialectic) - มองหาสิ่งที่ซ่อนเร้นหรือแฝงอยู่ในระบบสังคม - มองมิติแห่งความขัดแย้งในสังคม - มองภาพทั้งหมดของสังคม

หลักการพื้นฐานของแนวคิด 1. วิธีแบบทฤษฎีสังคมวิภาษ (Critical Theory) 1.4 พิจารณาตามหลักการของมนุษย์ธรรม โดยคิดว่า แม้ มนุษย์จะถูกครอบงำในสังคม แต่มีศักยภาพสูงพอที่ จะพัฒนาตนเองการพัฒนาใดๆ จะต้องยึดเอา มนุษย์ เป็นศูนย์กลาง 1.5 ส่วนใหญ่ปัญหาสังคมเกิดจากโครงสร้างสังคมเป็น ต้นเหตุไม่ใช่เกิดจากตัวมนุษย์ การแก้ไขต้องดำเนิน การที่ระบบและโครงสร้างสังคม

หลักการพื้นฐานของแนวคิด 1. วิธีแบบทฤษฎีสังคมวิภาษ (Critical Theory) 1.6 เน้นให้ความสำคัญสูงสุดต่อจิตสำนึก โดยมีสมมติฐาน ว่า จิตสำนึกของมนุษย์พิการ เพราะจำกัดด้วย ปัจจัย 4 ด้าน คือ - ความลุ่มหลงบูชาวัตถุ - การสร้างระเบียบ กฎหมาย วินัย ความเชื่อที่เข้มงวดจนเกิน ไปทำให้มนุษย์เกิดความเครียดและไม่สามารถสร้างสรรค์ - การให้ความสำคัญกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านเดียว (เหตุผลนิยม) ทำให้ขาดความรักและความอบอุ่น - การบิดเบือนของการสื่อความหมาย ทำให้จิตสำนึกเกิดภาพ ลวงตา

หลักการพื้นฐานของแนวคิด 2. วิธีแบบทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) 2.1 การพิจารณาสังคมต้องมองภาพรวม (Wholistic) ทั้งหมดทุกด้าน 2.2 การศึกษามุ่งเน้นการวิเคราะห์โครงสร้างทางสังคมใน แง่ความสัมพันธ์ของกลุ่มพลังต่างๆ ในสังคม 2.3 การวิเคราะห์อำนาจ ผลประโยชน์ และความขัดแย้ง โดยสภาพทั่วไปกลุ่มพลังต่างๆ มีรูปแบบผลประโยชน์ไม่ เหมือนกันหรือไม่เท่ากัน และมักมีการบีบบังคับใช้อำนาจกัน

หลักการพื้นฐานของแนวคิด 2. วิธีแบบทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) 2.4 วิเคราะห์วิกฤตการณ์ของสังคม โดยเฉพาะความตรึง เครียดที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ซึ่งมีทั้ง แบบเปิดเผยและซ่อนเร้น - Social Power - Social Problems - Social Conflict - Social Change ทั้ง 4 ประเด็นหลักการวิเคราะห์ที่มีความเกี่ยงโยงกัน

กลยุทธ์การพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายการพัฒนา - ทางสังคมมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพชีวิต โดยประชาชน หรือผู้ใช้แรงงานได้รับปัจจัยการดำรงชีพขั้นพื้นฐานอย่าง ทั่วถึงและเป็นธรรม - ทางการเมืองมุ่งสร้างจิตสำนึกและพัฒนาระบบการเมือง ไปสู่สังคมอุดมคติที่ปลดปล่อยอำนาจรัฐ - ทางเศรษฐกิจมุ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการบริโภค และอุตสาหกรรมหนัก

3. รัฐจะต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน กลยุทธ์การพัฒนา 2. การบริหาร ลักษณะระบบรวมศูนย์แบบเบ็ดเสร็จ จะมีพรรคเป็นทัพหน้า ของประชาชน (กำหนดนโยบาย) 3. รัฐจะต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน การไม่ได้ให้ความสำคัญกับปัจเจกชนเท่ากับการไม่ยอมรับ การมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (ที่ดิน โรงงานหรือเครื่องจักร เป็นต้น)

ความล้มเหลวของสังคมนิยม 1. ระบบเผด็จการทางการเมือง ตามหลักการที่ให้ความสำคัญ กับพรรคคือ กองหน้าของประชาชน (กำหนดนโยบายของ ประเทศ) ผลคือ พลังสังคมไม่มีโอกาสเข้าร่วมในการบริหาร ประเทศ 2. ระบบกรรมสิทธิ์ของรัฐ ตามหลักการไม่ให้เอกชนถือครอง ทรัพย์สิน เพราะนายทุนจะครอบงำ ประชาชนจะถูกเอา เปรียบ ผลคือ : - ระบบรัฐเป็นสาเหตุทำให้ขาดความมีประสิทธิภาพทาง เศรษฐกิจ - งบประมาณส่วนใหญ่จึงต้องนำมาใช้ค้ำจุนระบบของรัฐ

ความล้มเหลวของสังคมนิยม 3. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จะมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับ การพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมเพื่อการบริโภค และภาคทางการทหาร ทำให้ภาคเศรษฐกิจของประชาชน โดยเฉพาะภาคชนบทถูกละเลย 4. ระบบการรวมศูนย์แบบเบ็ดเสร็จ ไม่สามารถจะจัดการกับ ปัญหาต่างๆ ทุกอย่างได้

การปรับเปลี่ยนระบบสังคมนิยม 1. การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการเมือง ทุกด้านเพื่อ จูงใจให้เกิดการเพิ่มผลผลิตและสามารถเข้าสู่ระบบตลาด (ตลาดเสรี) 2. การเปิดกว้างทางการเมือง เพื่อให้มีเสรีภาพแสดงความ คิดเห็นและเข้ามีส่วนร่วมในบางระบบ 3. การพัฒนาระบบประชาธิปไตย ในแนวทางที่เหมาะสมกับ ตนเอง

การปรับตัวของระบบสังคมนิยม 1. ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการเมืองรอบด้านเพื่อ จูงใจให้เกิดการเพิ่มผลผลิตและสามารถเข้าสู่ระบบตลาด (ตลาดเสรี) 2. เปิดกว้างทางการเมืองเพื่อให้มีเสรีภาพแสดงความคิดเห็น และเข้ามีส่วนร่วมในบางระบบ 3. พัฒนาระบบประชาธิปไตยในแนวทางที่เหมาะสมกับตนเอง

Islam & Henult เสนอแนวคิดเชิงกลยุทธ์ของการพัฒนา ที่เปลี่ยนทิศทางและเป้าหมาย โดยเปรียบเทียบระหว่าง 2 แนวคิด Modernization Theory (1950-1960) Dependency Theory (1960-1980)

Industrialization • Agricultural Development Modernization Theory (1950-1960) Dependency Theory (1970-1980) Industrialization • Agricultural Development Urbanization • Rural Development Market Oriented • Basic need GNP. Per Capita • Welfare of Individual Capital Intensive • Labor Intensive Topdown Planning • Participative Interactive Advanced Technology • Appropriate of Intermediate Technology Paralelled Sectors • Integrated Sectors Economic Oriented • Socio-Economic and Political Oriented Service Oriented in Rural Area • Production-welfare in Rural Area Foreign Dependence • Self-Reliance

ประเด็นปัญหาประเทศที่กำลังพัฒนาที่ควรพิจารณา ควรจะตัดความสัมพันธ์กับโลกภายนอก โดยการอยู่ อย่างโดดเดี่ยว (ปิดประเทศ) หรือไม่ เพราะเป็นการยากที่ ประเทศบริวารจะทำลายความแข็งแกร่งของกระบวนการ พึ่งพา ทางออกของแนวคิดกลุ่มนี้คือ การปฏิรูปโครงสร้าง ภายใน (โครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง) จะ เป็นหนทางที่จะนำสังคมไปสู่การเผชิญหน้ากับโครงสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (โครง สร้างระบบทุนนิยมโลก) แนวคิดทฤษฎีพึ่งพาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ การพัฒนาของประเทศโลกที่ 3 หลังปี 1970 เป็นต้นมา

ประเด็นปัญหาประเทศที่กำลังพัฒนาที่ควรพิจารณา นักวิชาการของกลุ่มประเทศโลกที่ 3 รวมตัวกัน เรียกว่า กลุ่ม 77 ได้ยื่นข้อเสนอต่อ UN ซึ่งวิจารณ์กลุ่มประเทศ ตะวันตก “North-South Dialoque” (1979) จะต้องมีการ ปรับโครงสร้างการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ โลกที่ 3 จะส่งผลต่อประเทศที่พัฒนาแล้ว