นโยบาย สพฐ. ปี 2550-2551 1 2 3 4 5 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แผนกลยุทธ์ สพช.ขุฃันฑ์ เขต 22
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบาย สพฐ. ปี 2550-2551 1 2 3 4 5 6

นำหลักการคุณธรรมนำความรู้สู่การปฏิบัติ 1 ส่งเสริมให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมเรียนรู้เพื่อปลูกฝังคุณธรรม สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรูปแบบที่หลากหลายเพื่อเป็นกลไกการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลสู่การบริหารงานทุกระดับและบูรณาการในการพัฒนาบุคลากรทุกหลักสูตร เสริมความเข้มแข็งให้แก่ระบบดูแลนักเรียน

ส่งเสริมให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังคุณธรรม ส่งเสริมให้สถานศึกษาทุกแห่งจัดกิจกรรมเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังคุณธรรม 1.1 การสนับสนุนให้พัฒนาเป็นต้นแบบเพื่อการขยายผล การสนับสนุนระบบจัดการความรู้ให้เรียนรู้จากโรงเรียน ที่มีผลงานดีเด่น การเผยแพร่แบบอย่างที่ดีด้วยการจัดตลาดนัดคุณธรรม นำเสนอหลักสูตร แนวทางจัดกิจกรรม สื่อการเรียนการสอน

สนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อเป็นกลไกการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1.2 การสร้างวินัยและความมีน้ำใจที่จะบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม ด้วยการอบรมผู้บริหารทุกคน ให้ผ่านหลักสูตรผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เพื่อเสริมความเข้มแข็งกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี การปลูกฝังคุณธรรม ด้วยการส่งเสริมกิจกรรมดนตรี นาฏศิลป์ และการแสดง การเรียนรู้วิถีประชาธิปไตย ด้วยการพัฒนากรรมการและสภานักเรียน

น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลสู่การบริหารงานทุกระดับ บูรณาการในการพัฒนาบุคลากรทุกหลักสูตร

เสริมความเข้มแข็งให้แก่ระบบดูแลนักเรียน 1.4 การพัฒนาครูที่ปรึกษา ครูแนะแนว การพัฒนาเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน เครือข่ายผู้ปกครอง การพัฒนาระบบส่งเสริมความประพฤตินักเรียนเพื่อสร้างภูมิต้านทานให้แก่เยาวชน

การขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างกว้างขวางและทั่วถึง การขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างกว้างขวางและทั่วถึง 2 เร่งศึกษาสภาวะการศึกษาในพื้นที่ สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัฒนา นวัตกรรมการจัดโอกาสทางการศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพของระบบเฝ้าระวังและระบบให้ ความช่วยเหลือนักเรียน ส่งเสริมการศึกษา รณรงค์การเรียนต่อ 12 ปี

เร่งศึกษาสภาวะการศึกษาในพื้นที่ 2.1 การใช้ School mapping วางระบบการให้บริการทางการศึกษา ปรับปรุงระบบสถิติการศึกษาให้เป็นปัจจุบันเพื่อแสวงหาพื้นที่จุดบอดขาดบริการทางการศึกษา กลุ่มเด็กและเยาวชนด้อยโอกาสที่ตกหล่นไม่มีโอกาสเข้าเรียน ย้ายถิ่น ขาดเรียน ออกกลางคัน และไม่เรียนต่อ

สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พัฒนานวัตกรรมการจัดโอกาสทางการศึกษา 2.2 พัฒนานวัตกรรมเพื่อเข้าถึงกลุ่มด้อยโอกาสทางการศึกษาในพื้นที่ วางแผนกลยุทธ์จัดบริการให้ครอบคลุมทุกกลุ่มภายใน 3 ปี

เพิ่มประสิทธิภาพของระบบเฝ้าระวัง และระบบให้ความช่วยเหลือนักเรียน เพิ่มประสิทธิภาพของระบบเฝ้าระวัง และระบบให้ความช่วยเหลือนักเรียน 2.3 ให้ความช่วยเหลือแก่เด็กด้อยโอกาสเพื่อดูแล นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ได้เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ และเรียนต่อ 12 ปี จัดทุนการศึกษา และทุนประเภทอื่นๆ ดูแลเรื่องอาหารกลางวัน การให้บริการอื่นๆ

การขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างกว้างขวางและทั่วถึง การขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างกว้างขวางและทั่วถึง 2.4 เสริมความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์การศึกษาพิเศษ ระดับจังหวัด ขยายโรงเรียนเรียนร่วมที่เน้นช่วงชั้นที่ 3 และ 4

รณรงค์การเรียนต่อ 12 ปี 2.5 ความร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์เรียนรู้ด้านอาชีพ ความร่วมมือกับสำนักบริหารการศึกษานอกโรงเรียนจัดการศึกษาทางเลือกสำหรับเยาวชนกลุ่มเสี่ยง และนอกระบบโรงเรียน

การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ 3 พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนให้เข้าสู่มาตรฐาน แสวงหาแนวทางยกระดับคุณภาพของนักเรียน ต่อยอดและขยายผลหลักการพัฒนาสมอง พัฒนาความเท่าเทียมทางการศึกษากลุ่มเฉพาะทาง ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนการสอน ยกเครื่องระบบพัฒนาบุคลากร

พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนให้เข้าสู่มาตรฐาน 3.1 การเสริมสร้างสภาวะผู้นำ การพัฒนาทีมงานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน การจัดระบบโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง การสร้างเครือข่ายพัฒนาและการระดมพลังความสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

แสวงหาแนวทางยกระดับคุณภาพของนักเรียน 3.2 การช่วยเหลือนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 อ่านออกเขียนได้ทั่วถึง การส่งเสริมการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ การนำระบบ E-Leaning มาปรับปรุงการเรียนการสอน

ต่อยอดและขยายผลหลักการพัฒนาสมอง 3.3 สานต่อการนำหลักการเรียนรู้บนพื้นฐานความเข้าใจเรื่องสมองจากศูนย์ปฐมวัยต้นแบบสู่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1

พัฒนาความเท่าเทียมทางการศึกษากลุ่มเฉพาะทาง 3.4 สำรวจและวางระบบจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนความสามารถพิเศษ สำรวจและวางระบบ จัดการศึกษาสำหรับ เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้

ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนการสอน 3.5 จัดการประเมินคุณภาพผู้เรียนทุกคนในระดับ ป.2 ป.5 ม.3 และ ม.5 สุ่มผู้เรียนในชั้น ป.6 และ ม.6

ยกเครื่องระบบพัฒนาบุคลากร 3.6 การบรรจุเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมการปฎิรูปการเรียนการสอน การประเมินผลในชั้นเรียนและจัดให้มีการประเมินผลหลังการอบรม การพัฒนาต่อเนื่องควบคู่กับการปฏิบัติจริง การจัดทำแผนพัฒนาและแฟ้มข้อมูลรายบุคคล

ปรับศักยภาพในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การกระจายอำนาจและการส่งเสริมความเข้มแข็ง ให้ สำนังานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 4 ส่งเสริมการกระจายอำนาจทางบริหารทั่วไป งบประมาณ วิชาการ และบุคคล ไปยังสถานศึกษา ปรับศักยภาพในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมการจัดกลุ่มเครือข่ายบริหารสถานศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเตรียมความพร้อมรองรับการกระจายอำนาจ

ส่งเสริมการกระจายอำนาจ ทางบริหารทั่วไป งบประมาณ วิชาการ และบุคคลไปยังสถานศึกษา 4.1 การคัดเลือกสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินมาตรฐานการศึกษาภาพรวมในระดับดี และมีนักเรียน 500 คนขึ้นไป จำนวน 600 โรง เพื่อให้บริหารโดยมีโรงเรียนเป็นฐาน การออกกฎกระทรวงและประกาศกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการ การพัฒนาผู้บริหารการศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้บริหารการศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์เพื่อเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง

ปรับศักยภาพในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4.2 การเร่งรัดจัดกรอบอัตรากำลังในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การพัฒนาหัวหน้ากลุ่ม และบุคลากรหลัก การพัฒนาประสิทธิภาพ และความคล่องตัวในการพัฒนาการศึกษาให้เหมาะสมสภาพพื้นที่

ส่งเสริมการจัดกลุ่มเครือข่ายบริหารสถานศึกษา 4.3 กลุ่มเครือข่ายประสิทธิภาพการบริหารจัดการ แบบโรงเรียนเป็นฐาน กลุ่มเครือข่ายเตรียมความพร้อม รองรับการกระจายอำนาจ

การส่งเสริมการมีส่วนร่วม 5 เสริมความเข้มแข็งให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเป็นกลไกการนำนโยบายสู่การปฏิบัติให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ พัฒนาองค์กรนักเรียนและส่งเสริมเครือข่ายผู้ปกครองให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาและช่วยเหลือดูแลนักเรียน ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษารูปแบบที่หลากหลาย

การสร้างกลไกการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ การสร้างกลไกการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 5.1 เสริมความเข้มแข็งให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา เสริมความเข้มแข็งให้คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เสริมความเข้มแข็งให้องค์คณะบุคคลอื่นๆ

พัฒนาองค์กรนักเรียนและส่งเสริมเครือข่ายผู้ปกครอง 5.2 พัฒนาองค์กรนักเรียนและส่งเสริมเครือข่ายผู้ปกครองให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาและช่วยเหลือดูแลนักเรียน

การจัดตั้งและขยายสถานศึกษา การร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษารูปแบบที่หลากหลาย 5.3 การจัดตั้งและขยายสถานศึกษา การร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษา การถ่ายโอนสถานศึกษาตามเกณฑ์ความพร้อม และสมัครใจในจำนวนและช่วงชั้นที่เหมาะสม

การพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ การพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1 ปรับการเรียนการสอนในสถานศึกษาบนพื้นฐานของความหลากหลายทางวัฒนธรรม จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 5 แห่ง เพื่อรองรับเด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาส ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน และวางมาตรการพิเศษเร่งรัดพัฒนาคุณภาพนักเรียนเพื่อให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู่อุดมศึกษา และมีทางเลือกในการประกอบอาชีพที่จะมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการในพื้นที่ดูแลการศึกษาเอกชน การคัดเลือกผู้บริหาร ดูแลความปลอดภัย สร้างขวัญกำลังใจ ส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือข้ามเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างสายสัมพันธ์แห่งความเป็นไทย

ปรับการเรียนการสอนในสถานศึกษา บนพื้นฐานของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ปรับการเรียนการสอนในสถานศึกษา บนพื้นฐานของความหลากหลายทางวัฒนธรรม 6.1 การสนับสนุนการขยายรูปแบบการสอนสองภาษา การปรับหลักสูตรอิสลามศึกษา การจับคู่โรงเรียนตาดีกาและโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ การส่งเสริมการเรียนประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ศาสนสัมพันธ์ การเสริมสร้างความสมานฉันท์ในสังคมพหุลักษณ์ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

สนับสนุนการช่วยเหลือรองรับเด็กเยาวชน ที่ด้อยโอกาส สนับสนุนการช่วยเหลือรองรับเด็กเยาวชน ที่ด้อยโอกาส 6.2 จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 5 แห่ง เพื่อรองรับเด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาส

ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน 6.3 วางมาตรการพิเศษเร่งรัดพัฒนาคุณภาพนักเรียนเพื่อให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู่อุดมศึกษา และมีทางเลือกในการประกอบอาชีพที่จะมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการในพื้นที่ 6.4 การเพิ่มสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3 แห่ง การมี อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดูแลการศึกษาเอกชน การคัดเลือกผู้บริหาร ดูแลความปลอดภัย สร้างขวัญกำลังใจ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างสายสัมพันธ์แห่งความเป็นไทย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างสายสัมพันธ์แห่งความเป็นไทย 6.5 ส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือข้ามเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างสายสัมพันธ์แห่งความเป็นไทย

สวัสดี... 23 เมษายน 25ถจ