เรื่อง คำอุทาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
เรื่อง ลาโง่กับหนังสิงห์โต
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เรื่อง คำสรรพนาม.
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
เศรษฐกิจพอเพียง.
พระวาจา ทรงชีวิต ตุลาคม 2007.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
คำกริยา.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการด้านสังคมในวัยเด็ก
คำกริยา.
สอนอย่างไรใน 50 นาที.
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
นำเสนอหนังสือวิชาการ
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ ผู้จัดทำ Next.
หนังสือเล่มแรก Bookstart
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
ความหมายของการวิจารณ์
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
พระเวสสันดรชาดก.
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การอ่านเชิงวิเคราะห์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
พฤศจิกายน 2014 พระวาจา ทรง ชีวิต "ในพระองค์มีต้นธารแห่งชีวิต" (สดุดี 36,9)
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
รูปแบบรายงาน.
สักวัน ฉันก็ต้องแก่(เหมือนกัน) ฉันก็คงจะ....
ความหมายของการวิจารณ์
App Learning to English
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
สนุกกับชนิดของคำ เรื่อง คำอุทาน สรุปแผนผังความคิด เรื่องคำอุทาน
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
(Demonstration speech)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
เรื่อง ประโยค.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
สื่อประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
การเขียนรายงาน.
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
สื่อการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ผลกระทบเมื่อประเทศไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง คำอุทาน

คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย (ท202)ซึ่งรายงานเล่มนี้จะเขียนอธิบายเรื่องคำอุทาน โดยรายงานเล่มนี้จะบอกถึงหน้าที่ของคำอุทาน หวังว่ารายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและใช้ในการประกอบการเรียนได้อย่างดี

สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายคำอุทาน 4 ชนิดของคำอุทาน 5-6 หน้าที่ของคำอุทาน 7 สมาชิก 8

อาการดีใจ เช่น ไชโย ฮูเล ฮ่า ฯลฯ คำอุทาน คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาด้วยอารมณ์ต่างๆ เช่นอารมณ์ดีใจเสียใจ ตกใจ เศร้าใจ ฯลฯ เสียงอุทานออกมานั้นเป็นคำ บางทีเป็นวลี และบางทีก็เป็นประโยค บางครั้งคำอุทานก็มีความหมายแปลได้ บางครั้งก็ไม่มีความหมาย เช่น อนิจจา เอ๊ะ พุทโธ่ เป็นต้น คำอุทานแบ่งเป็น 2 พวกได้แก่ 1.คำอุทานบอกอาการ ได้แก่คำอุทานที่เปล่งออกมาเพื่อให้รู้อาการของผู้พูด ดังตัวอย่าง อาการร้องเรียก เช่น เฮ้ เฮ้ย โว้ยแน่ะ นี้แน่ะฯลฯ อาการดีใจ เช่น ไชโย ฮูเล ฮ่า ฯลฯ อาการโกรธ เช่น เหม่ ชิ ชะ ฮึ่ม ฮึ ดูดู๋ ฯลฯ อาการประหลาดใจ เช่น เอ๊ะ เอ เอ๋ โอ้ แหม คุณพระ อาการส่งสาร เช่น โธ่ น้องเอ๋ย อนิจจา พุทโธ่ ฯลฯ อาการรับรู้ เช่น เออ อ้อ อ๋อ หื้อ อาการเจ็บปวด เช่น โอ้ย โอย อ๋อย อู๋ย อุ้ยฯลฯ  

2.คำอุทานเสริมบท ได้แก่ คำอุทานที่ใช้เป็นคำสร้อยหรือใช้เสริมบทต่างๆ เป็นคำอุทานที่ช่วยให้ใจความสมบูรณ์ ไพเราะสละสลวยยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถจำแนกได้ 3 อย่างดังนี้ 2.1คำสร้อย คือคำอุทานที่ใช้เป็นคำสร้อยในคำประพันธ์ประเภทโครงและร่าย มักมีคำว่า แลนา นาแม่ พี่เอย เทอญพ่อ จริงแฮ สิเอย ฯลฯ ดังตัวอย่าง ดูรากุลบุตรเชื้อ ชาติชาย ไทยเอย อันชาติรุ่งเรืองฉาย เฉิดแท้ แม้ไร้กวีอาย ทั้งชาติ เชียวพ่อ เขาจะติเล่นแม้ หมดผู้รู้ดี 2.2 คำแทรก คือคำอุทานที่ใช้แทรกระหว่างคำให้ยาวออกไปเพื่อให้มีความสละสลวย ฟังไพเราะ อ่อนหวาน มีคำว่า นะ สิ เอย 2.3 คำเสริม คือคำอุทานที่ใช้ต่อคำให้ยาวออกไป เพื่อให้ออกเสียงสะดวกยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น แขนแมน เลขผานาที ลูกเต้า ชมเชย สิงห์สาราสัตว์ หนังสือหนังหา ตำหรับตำรา

หนอยแน่ อ้าว เอ้อเฮ้อ อ้อ อาบน้ำอาบท่า ผู้หลักผู้ใหญ่ หน้าที่ของคำอุทาน คำอุทาน เป็นคำที่ไม่มีหน้าที่สำคัญในประโยค แต่ใช้เสริมบทหรือประโยคในการพูดจากัน เพื่อแสดงความรู้สึกและอารมต่างๆ ไม่มีความหมายเด่นชัด อาจเป็นคำสร้อย คำแทรก เช่น หนอยแน่ อ้าว เอ้อเฮ้อ อ้อ อาบน้ำอาบท่า ผู้หลักผู้ใหญ่

แหล่งอ้างอิง ศึกษาค้นหาจากแหล่งเรียนรู้ในที่ต่างๆ เช่น จากห้องสมุด

รายชื่อสมาชิก 1.ด.ญ. นัทชา ม่วงอ่อน เลขที่ 27 2.ด.ญ.ปวีณา เดชฟุ้ง เลขที่ 29 3.ด.ญ.พิญชา ประสาทศิลป์ เลขที่ 31 4.ด.ญ.รุ้งเพชร พันธุ์โต เลขที่ 33 5.ด.ญ.ศรวจี บุญปลูก เลขที่ 35 6.ด.ญ.สุนิษา เกิดดวง เลขที่ 38