บทพิสูจน์ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
การดำเนินการของลำดับ
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.3 ภาคความรู้ ปีการศึกษา 2554 การประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.3 ภาคความรู้ ปีการศึกษา 2554 วิช า ร้อยละ.
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
ตัวอย่าง Flowchart.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
สัญลักษณ์ของการประเมินผลการศึกษา
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร
การนับเบื้องต้น Basic counting
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.4 Rational Expressions
Exponent and Radicals Appendix 2
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ระบบเลขฐาน V.2 ม.6.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทพิสูจน์ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ จัดทำโดย นาย ธัชกร เพชรอภิรักษ์ ชั้น ม.4/5 เลขที่ 6

ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับจำนวนเต็ม และสมบัติต่างของจำนวนเต็มและเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการศึกษาต่อในระดับสูง

- การหารลงตัว - ขั้นตอนวิธีการหาร - ตัวหารร่วมมาก - ตัวคูณร่วมน้อย ประกอบด้วย - การหารลงตัว - ขั้นตอนวิธีการหาร - ตัวหารร่วมมาก - ตัวคูณร่วมน้อย 

การหารลงตัว บทนิยาม ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0 บทนิยาม  ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0 B หาร a ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนเต็ม c ที่ทำให้ a = bc เรียก b ว่าเป็น ตัวหาร ของ a และ เรียก a ว่าเป็น พหุคูณ ของ b

ข้อตกลง  ใช้สัญญาลักษณ์ a|b  แทนหารลงตัว a†b แทนหารไม่ลงตัว ตัวอย่างเช่น 3|12    เพราะ     12 = 3 x 4 -5|15    เพราะ    15 = (-5)(-3)  ตัวอย่างดังกล่าวเป็นตัวอย่างของทฤษฎบทต่อไปนี้ จากการสังเกตตัวอย่างเช่น  1. 11|66   และ  66 |198  จะไดว่า 11|189 2. 15|27   และ  75 |450  จะได้ว่า 15|450    3. 21|126 และ 126|882   จะได้ว่า21|882 

พิสูจน์ สมมติ a | b จะมีจำนวนเต็ม x ที่ทำให้ b = ax ทฤษฏีบท ถ้า a และ b เป็นจำนวนเต็มบวก ซึ่ง a|b และ a≠b พิสูจน์ สมมติ a | b จะมีจำนวนเต็ม x ที่ทำให้ b = ax เนื่องจาก a และ b เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ x เป็นจำนวนเต็มบวก ฉะนั้น x ≥ 1 จะได้ ax ≥ a (เพราะ a เป็นจำนวนเต็มบวก) ดังนั้น b ≥ a ตัวอย่างเช่น 5 | 100 จะเห็นว่า 5 ≤ 100 12 | 12 จะเห็นว่า 12 = 12

ประวัติเครื่องหมายหาร (÷) ในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ การกระทำกันของจำนวนชุดแรก ๆ ที่ทุกคนรู้จักและเคยใช้กันทุกคน คือ การบวก ลบ คูณ หาร การกระทำกันนำมาใช้ในชีวิตประจำวันก่อนที่จะมีสัญลักษณ์เหล่านี้ด้วยซ้ำไป เรื่องที่ยากที่สุดในกลุ่มนี้ คงหนีไม่พ้นเรื่องการหาร สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการหารที่คุ้นตาผู้เรียน คือ ÷ ในปี 1616-1703 สัญลักษณ์ ÷ แทนการหาร ได้ถูกนำมาใช้ครั้งแรก โดย จอห์น วอลลิส ( John Wallis ) ที่ประเทศอังกฤษ และสหรัฐกเมริกา แต่ไม่ค่อยแพร่หลายในทวีปยุโรป เนื่องจากก่อนหน้านั้น ได้ใช้เครื่องหมายโครอน ( : ) จนชินแล้ว ปี 1923 คณะกรรมการแห่งชาติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ในประเทศสหรัฐอเมริกากล่าวว่า เครื่องหมายหาร (÷) และ เครื่องหมายโครอน ( : ) ไม่ได้ถูกนำมาใช้ชิวิตประจำวัน และทางธรุกิจจริงจัง ส่วนใหญ่นำมาใช้ในวิชาพิชคณิตเท่านั้น จึงมีการนำเครื่องหมายเศษส่วน ( - หรือ / ) มาใช้แทนเครื่องหมายหาร (÷) ในปัจจุบัน เครื่องหมายที่กล่าวมาไม่ว่าจะเป็น เครื่องหมายหาร ( ÷) เครื่องหมายโครอน ( : ) และ เครื่องหมายเศษส่วน ( - หรือ /) ได้ถูกนำมาใช้ในคณิตศาสตร์ และศาสตร์ชั้น สูงตามลักษณะของวิชา และได้เพิมขึ้นมาให้เห็น ในรูปของเศษส่วน ใช้แทนการหาร