บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักเกณฑ์การนำพยานหลักฐานเข้าสู่สำนวนคดี
วิชาว่าความและ การถามพยาน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวางแผนและการดำเนินงาน
การกำหนดประเด็นสอบสวน
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
การวิจัยการศึกษา.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ธุรกิจ จดหมาย.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
การจัดกระทำข้อมูล.
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐานดำเนินคดีฝ่าฝืนกฎหมายสุรา และยาสูบ
การตั้งเรื่องกล่าวหา
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 คำสั่งกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ 243/2556 เรื่อง แนวทางการ ปฏิบัติในการพิจารณาคำขอรวมทั้ง เอกสารที่เกี่ยวข้องตาม.
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
กลุ่มที่ 3 แนวทางในการบูรณาการ การปราบปรามตามกฎหมายฟอกเงิน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การให้ข้อเท็จจริงในคดีปกครอง
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
L/O/G/O การบริหารจัดการ ภาพลักษณ์องค์กร สำหรับงานป้องกัน ควบคุมโรค นพ.โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 11/12/13.
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
ความหมายของวิทยาศาสตร์
ความหมายของการวิจารณ์
การรับฟังพยานหลักฐาน
หลักการและวิธีการ ทำรายงานการสอบสวน
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ความหมายของการวิจารณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน 2 2

การวินิจฉัยคดีในชั้นศาลประกอบด้วย 1. การ วินิจฉัย ปัญหา ข้อเท็จจริง 2. การ วินิจฉัย ปัญหาข้อ กฎหมาย 3 3 3

การวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ต้องวินิจฉัยด้วยพยานหลักฐาน การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ต้องวินิจฉัยด้วยหลักกฎหมาย 4 4 4

สิ่งที่พิสูจน์ว่ามีข้อเท็จจริงหนึ่งข้อเท็จจริงใด พยานหลักฐานคืออะไร ? สิ่งที่พิสูจน์ว่ามีข้อเท็จจริงหนึ่งข้อเท็จจริงใด ที่เกิดขึ้น 5 5 5

การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน เป็นขั้นตอนของการวินิจฉัยข้อเท็จจริงที่โต้แย้งกันด้วย พยานหลักฐาน ดังนั้น เมื่อใดที่เป็นดุลพินิจของศาลในการวินิจฉัย พยานหลักฐานย่อมถือว่าเป็นเรื่องที่ศาลวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง จึงอาจสรุปได้ว่า ปัญหาข้อเท็จจริงเป็นปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยจาก พยานหลักฐาน 6 6

ข้อสังเกตเกี่ยวกับการทำคำพิพากษา ตามกฎหมายไทยคำพิพากษาของศาลจะต้องแสดงเหตุผลของ คำวินิจฉัย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 141 และ ป.วิ.อ. มาตรา 186 คำพิพากษาของศาลในเรื่องการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน ย่อมถูกตรวจสอบได้จาก ผลก็คือ คู่ความ ศาลสูง สังคม 7 7 7

เกณฑ์มาตรฐาน ของระดับการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน - พิสูจน์ปราศจากข้อสงสัยตามสมควร (PROOF BEYOND REASONABLE DOUBTS) - ชัดแจ้งและน่าเชื่อถือ (CLEAR AND CONVINCING) - น้ำหนักที่น่าเชื่อถือกว่า (PREPONDERANCE) - มีมูลแห่งความเชื่อถือ (PRIMA FACIE) 8 8 8

หลักการชั่งน้ำหนักพยานบุคคล ความน่าเชื่อถือ (CREDIBILITY) ของคำเบิกความ (TESTIMONY) ของพยานบุคคลที่เบิกความต่อศาล โดย 1. การทดสอบความมั่นคง (INTEGRITY) คำให้การในครั้งก่อนๆ (PRIOR STATEMENT) ตรงกัน หรือ ขัดแย้งกัน 9 9

2. การชั่งน้ำหนักความน่าเชื่อถือ (WEIGHTING)  การรับรู้ (PERCEPTION)  ความจำ (MEMORY)  การถ่ายทอด (NARRATION)  อคติ (PREJUDICE OR BIAS) 10 10

ปัญหาบางประการในการชั่งน้ำหนักพยานบุคคล พยานโดยตรง (DIRECT) กับ พยานแวดล้อมกรณี (CIRCUMSTANCE) ประจักษ์พยาน กับ พยานบอกเล่า พยานบุคคลที่มีน้ำหนักน้อย (ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 227/1)  พยานบอกเล่า  คำซัดทอด  พยานที่โจทก์กันไว้ (STATE WITNESS)  พยานบุคคลที่เบิกความไม่ครบกระบวนการซักถาม  คำให้การของพยานบุคคลที่ไม่ได้มาเบิกความในชั้นศาล 11 11

หลักการชั่งน้ำหนักพยานเอกสาร การมีอยู่และความถูกต้องแท้จริงของเอกสาร (AUTHENTICATION) (ดู ป.วิ.พ. มาตรา 122 – 127 ทวิ) มาตรา 125 ไม่ตัดอำนาจศาลในเรื่องการชี้ขาดการมี อยู่ และความถูกต้องแท้จริง 12 12

หลักการชั่งน้ำหนักพยานวัตถุ ความถูกต้องแท้จริงและการเก็บรักษา (CHAIN OF CUSTODY) 13 13

หลักการชั่งน้ำหนักพยานผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบเรื่องความรู้เชี่ยวชาญของ พยานประเภทนี้ด้วย 14 14

หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานประเภท สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ความน่าเชื่อถือของลักษณะ หรือ วิธีการที่ใช้ สร้าง เก็บ รักษา หรือ สื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ลักษณะ หรือวิธีการ รักษา ความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อความ ลักษณะ หรือวิธีการที่ใช้ในการระบุหรือแสดงตัวผู้ส่งข้อมูล รวมทั้งพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ที่มา : พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (มาตรา 11 วรรคสอง) 15 15