ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร (N) กลุ่มตัวอย่าง (n) ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (ทาโร ยามาเน่) n=N/1+N(e)2 วิธีได้มาซึ่งขนาดของตัวอย่าง
การใช้สูตรของทาโรฯ มีนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จำนวน 385 คน จะมีกลุ่มตัวอย่างกี่คน มีประชากรในประเทศไทย 60 ล้านคน จะมีกลุ่มตัวอย่างกี่คน 54324 78910 123456 *** ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณด้วยสูตรทาโร ยามาเน่ พบว่าขนาดตัวอย่างที่ได้มีไม่เกิน 400 ***
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบบใส่คืน สลากกินแบ่งรัฐบาล แบบไม่ใส่คืน หยิบรางวัล การสุ่มแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น : ไม่ทราบโอกาส ไม่สามารถคาดคะเนได้ ว่ากลุ่มตัวอย่างจะได้รับเลือกหรือไม่ แบบบังเอิญ พบที่ไหนเก็บที่นั่น ไม่มีการวางแผน แบบโควตา แบ่งเป็นกลุ่มตามที่ผู้วิจัยเห็นควร จากนั้นเลือกมากจากกลุ่มตัวอย่างนั้น เช่น บัตรชมคอนเสริตที่แจกไปยังคณะวิชาทั้ง 4 คณะ ในสัดส่วนที่เหมาะสม แบบลูกโซ่ แบบเน็ตเวิร์ค เช่น การขายสินค้าแบบขายตรง เฉพาะเจาะจง ขึ้นอยู่กับวินิจฉัย วิจารณญาณ ของนักวิจัยเอง เลือกใครก็ได้
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง การสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น : โอกาสของการถูกเลือกมีได้ทุกคน คาดคะเนความคลาดเคลื่อนได้ สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เช่น การหยิบเลือกจากบัญชีรายชื่อ สุ่มแบบมีระบบ เช่น การหยิบจากบัญชีแต่กำหนดเงื่อนไข ตัวอย่างหยิบจากนักศึกษาที่มีเลขประจำตัวเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ แบ่งชั้นภูมิ แบ่งตามลักษณะในกลุ่มที่เหมือนกันแล้วเลือกมาตามสัดส่วนที่เหมาะสม เช่น กลุ่มของเพศ กลุ่มของชั้นปี กลุ่มของสี แบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่มแต่ลักษณะในกลุ่มต่างกันแล้วเลือกมาตามสัดส่วนที่เหมาะสม เช่น หมู่บ้าน อำเภอ จังหวัด แบ่งหลายชั้น (เอามาจากแบ่งกลุ่ม) เช่น หมู่บ้าน ตำแหน่ง : ผู้นำท้องถิ่น , ประชาชน , นักธุรกิจ
1. สร้างตัวแปรใหม่ชื่อ salary = income+tax 2 1. สร้างตัวแปรใหม่ชื่อ salary = income+tax 2. ลดอายุลงคนละ 5 ปีไว้ใน newage 3. คำนวณภาษีที่ต้องจ่ายจากรายได้ โดยเก็บภาษีร้อยละ 5 เก็บไว้ใน newtax 4. เพิ่มอายุให้เพศชายคนละ 5 ปี ไว้ใน add5 5. เพิ่มรายได้ให้กับคนโสดคนละ 500 บาท ไว้ new500
นับอายุคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ไว้ในตัวแปร cage นับจำนวนผู้ที่ได้เกรดมากกว่าเกรด C ไว้ในตัวแปร cgrade