การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ถุงเงิน ถุงทอง.
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
NU. Library Online Purchasing System
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาอุปสรรค 1) หมายเลขบัตรประชาชน ไม่ครบ 13 หลัก ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง.
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
1 การบันทึกในระบบ GFMIS ใน ปีงบประมาณ 2549 ที่แตกต่างจากปี 2548 โครงการ GFMIS โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
การเขียนรายงาน.
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่

ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น โดย

ความเป็นมา

เป็นระบบการรายงานข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต Website http://bid.rid.go.th/bid54/testing ซึ่งกองแผนงานนำมาใช้ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔แทนระบบการรายงานแบบเดิม และใช้เป็นศูนย์ข้อมูล สำหรับการติดตามผลการปฏิบัติงาน ของทุก สำนัก / กอง

http://bid.rid.go.th/bid54/testing

ดำเนินการโดย เป็นการพัฒนาต่อยอด ระบบรายงานแผนงานและงบประมาณแบบ Online ของ สำนักชลประทานที่ ๓ (ปี 2553) และนำมาใช้งานในระดับ กรมฯ ในปี ๒๕๕๔ ดำเนินการโดย คณะทำงานพัฒนาระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ตามคำสั่ง กรมฯ ที่ ข 601 /2553 ลงวันที่ 7 กันยายน 2553

ลักษณะการดำเนินงานด้าน การติดตามผลการปฏิบัติงานและผลการเบิกจ่าย กองแผนงาน กรมได้รับจัดสรรเงินงบประมาณตามเล่ม พรบ งบประมาณรายจ่าย (ขาวคาดเขียว) โครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ดำเนินงานตามแผนงาน /โครงการ สำนัก/โครงการ รายงานความก้าวหน้าผลงาน และผลการใช้จ่ายงบประมาณ กองแผนงาน รวบรวม และจัดทำ รายงาน สรุปเสนอผู้บริหารและหน่วยงานอื่น ๆ

ความ ซ้ำซ้อนสิ้นเปลือง เป็นภาระ งานเอกสาร ข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ครบถ้วน ใช้เวลา และกำลัง คนมาก ปัญหาของระบบการรายงานแบบเดิม:

1. ความใหม่

วิวัฒนาการของ การติดตามผลการปฏิบัติงานและผลการเบิกจ่าย อดีต สชป.รวบรวมข้อมูลความก้าวหน้าผลงานและผลเบิกจ่ายจากโครงการ และส่งให้กองแผนงาน รวบรวมข้อมูลแต่ละสำนักมาประมวลผล โดยในอดีตใช้วิธีส่ง อัพโหลดข้อมูลไว้ในระบบอินเทอร์เน็ต โดยใช้แบบฟอร์มของกองแผนงาน ส่งเมล์ตามแบบฟอร์มของแต่ละสำนัก แฟกซ์ ปัจจุบัน สชป. และโครงการ กรอกข้อมูลความก้าวหน้าผลงานและผลการเบิกจ่ายของรายการงานที่รับผิดชอบในระบบได้ทันทีเมื่อมีความก้าวหน้า ระบบจะประมวลผลและแสดงตารางสรุปในระดับต่าง ๆ เช่น ภาพรวมทั้งกรม แต่ละสำนัก และแสดงสรุปเป็นกราฟ ปี2554

คำสั่งกรมชลประทานที่ ข 601 /2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ

2. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบฯ สร้างช่องทางการรายงานข้อมูล ที่ใช้งานได้ง่าย สร้างระบบ ช่วยจัดทำสรุป ผลการรายงาน ทุกหน่วยงานมีฐานข้อมูลจากแหล่งเดียวกัน บนอินเตอร์เน็ต ลดขั้นตอนและระยะเวลาการทำงาน ลดการ ใช้เอกสาร

3. หลักการ

หลักการ/แนวคิดในการพัฒนาระบบ รวมศูนย์ข้อมูล ไว้ที่จุดเดียว เข้าถึงข้อมูลตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ใช้งานง่าย ทำได้ทุกที่ ทุกเวลา สร้างแบบฟอร์มช่วยลดข้อผิดพลาดในการรายงาน

แผนภูมิแสดงหลักการทำงานในภาพรวมของระบบ เพิ่ม / แก้ไข รายการงาน 1. การจัดการฐานข้อมูล เพิ่ม / แก้ไข รายการงาน โดย ผู้ประสานแผนฯ สำนัก ข้อมูล GFMIS จากหน่วยเบิกจ่าย SERVER 3. การ update ผลการเบิกจ่าย ทุกรายการงาน โดย ผู้ช่วยผู้ประสานแผน สำนัก 2. การรายงาน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง แผน / การเบิกจ่าย แผน / ผลการปฏิบัติงาน โดย ฝ่ายวิศวกรรม ทุกโครงการ 4. รายงานต่าง ๆ

4. การออกแบบพัฒนานวัตกรรม

ขั้นตอนการดำเนินการ การกำหนด ความต้องการ,ขอบเขตเนื้อหาและหลักเกณฑ์รวมทั้งเงื่อนไขในการรายงานที่ต้องการให้หน่วยงานค่างๆ ดำเนินการ การออกแบบกระบวนการรายงานและกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ดูแลระบบ และผู้ใช้งานระดับต่าง ๆ การออกแบบหน้าตา website ที่ใช้ในการส่งรายงาน และ แสดงผลตามความต้องการของผู้บริหารกรมฯ

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) การออกแบบระบบฐานข้อมูลและกำหนดความสัมพันธ์ ตามหลักการในการจัดการระบบฐานข้อมูล และจัดเก็บบน server ของกรม การนำเข้าข้อมูลแผนงานที่ปรากฏชื่อในเล่ม พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทุกรายการ ลงในฐานข้อมูลที่ได้ออกแบบไว้ ทดสอบการใช้งานในระบบโดยให้ สชป. 3 และ สชป. 12 เป็นหน่วยงานนำร่อง เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 53 และนำข้อเสนอแนะมาปรับปรุง/แก้ไขระบบฯ

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ประชุมชี้แจงทุกสำนัก/กอง เพื่อชี้แจงการใช้งาน และมอบ user password สำหรับผู้ใช้งานทุกระดับ เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2553 รธร. มอบหมายให้กองแผนงานดำเนินการนิเทศระบบติดตามออนไลน์ให้แก่ทุกสำนักชลประทาน กองแผนงานและคณะทำงานลงพื้นที่นิเทศระบบฯ และรับฟังข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ จากผู้ปฏิบัติในพื้นที่ แล้วเสร็จเมื่อเมษายน 2554

5. การมีส่วนร่วม

การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ก่อน ประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กลุ่มงานตรวจสอบภายใน กองแผนงาน กองการเงินและบัญชี สำนักชลประทานที่ 3 ศูนย์สารสนเทศ เชิญผู้เกี่ยวข้องจาก สชป. 3 และ สชป. 12 เพื่อแนะนำและทดสอบระบบ พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 53 ระหว่าง การลงพื้นที่นิเทศระบบให้แก่ สชป. 1 – 17 เพื่อรับฟังความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ รับฟังความคิดเห็นจากผู้ตรวจราชการกรมชลประทาน และนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุง หลัง

6. ความสำเร็จ มีระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ แบบออนไลน์ในระดับกรม ทุกสำนัก/กอง สามารถรายงานข้อมูลผ่านระบบได้โดยง่าย ผู้บริหารทุกระดับสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงและใช้ประโยชน์การบริหารงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลไปใช้งานได้ เช่น กลุ่มตรวจสอบภายใน เป็นต้น

7. การแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ระบบติดตามผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ใช้งานง่าย แค่รายงานผ่านเว็บไซต์ ผู้บริหาร/ผู้เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย

8. การใช้ทรัพยากร การเลือกใช้ระบบ IT ที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบฯ 2. ใช้ศักยภาพของบุคลากรภายในกรมชลประทาน 3. มีการบูรณาการกันระหว่างหน่วยงาน ทำงานร่วมกันเป็นทีม 4. เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาประสบการณ์แก่ทีมงาน ระบบมีความยืดหยุ่น /ประหยัดงบประมาณ

9. ความสะดวกในการนำไปใช้งาน สามารถใช้งานผ่านเว็บไซต์ได้ มีแบบฟอร์มและคำอธิบายอยู่ในเว็บไซต์ทำให้ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลได้โดยง่าย สามารถเลือกข้อมูลรายงาน จำแนกตามประเภทที่ต้องการได้ เช่น จำแนกตามหน่วยงาน จำแนกตามผลผลิต เป็นต้น ลดระยะเวลา ขั้นตอน ในการทำงาน

10. ความเป็นไปได้ในการขยายผล/ ต่อยอดการใช้ประโยชน์ 10. ความเป็นไปได้ในการขยายผล/ ต่อยอดการใช้ประโยชน์ กองแผนงาน มีนโยบายที่จะขยายผล/ต่อยอด แนวคิดจากการพัฒนาระบบติดตามฯ ไปใช้ในการจัดทำระบบแผนงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF : Medium Terms  Expenditure Framework) แบบออนไลน์ของกรมชลประทานต่อไป หน่วยงานอื่นในกรมชลประทานสามารถใช้แนวคิดจากการพัฒนาระบบติดตามฯ ไปใช้ในการพัฒนาระบบการรายงานด้านอื่น ๆ ได้

รางวัลดีเด่นอันดับ 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ และการพัฒนาระบบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

รางวัลดีเด่นอันดับ 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ และการพัฒนาระบบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

จบการนำเสนอ