การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Advertisements

วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
สู่ความสำเร็จขององค์กร โดยการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
การวางแผนและติดตามผลการ ปฎิบัติราชการอย่างมี มิติ เป้าประสงค์ มิติ คือ 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพของการ ปฎิบัติราชการ 2. ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำต้นทุนผลผลิต กรมแพทย์ทหารเรือ
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management - RBM) กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 11 มิถุนายน 2546

18 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indicators – KPIs) โดย มนัส กำเนิดมณี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 11 มิถุนายน 2546

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) มติ ครม. 19 พฤษภาคม 2546 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) 7 ยุทธศาสตร์ 42 มาตรการ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน มาตรการ 1.1 นำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์มาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง

แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

แผนยุทธศาสตร์ชลประทาน แผนที่เดินทาง RBM บอกให้ทราบว่า เข้าใกล้เป้าหมายเพียงได หลงทางหรือไม่

โครงสร้าง RBM 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด กำหนดโดยคณะทำงาน RBM จำนวน 24 คน (คำสั่ง 1604/44 24ธ.ค.44)

4 วิสัยทัศน์ Perspective

10 วิสัยทัศน์ CSFs

18 วิสัยทัศน์ KPIs

ก. ด้านภาย นอกองค์กร BSC ภายนอกองค์กร External Perspective

CSF. 1 BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้ใช้น้ำมีความเข้าใจ มีจิตสำนึกในการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด 1 Kpi

KPI 1.1 1 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำที่ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่มผู้ใช้น้ำ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM1 RBM2 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

CSF. 2 BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความร่วมมือ ในการพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ 3 Kpi

KPI 2.1 2 BSC ร้อยละของโครงการที่ส่วนใหญ่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เข้าร่วมในการศึกษาและวางโครงการเห็นด้วยกับโครงการ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM3 RBM4 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สบก. >>กผง.

KPI 2.2 3 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำของโครงการที่เข้ามามีส่วนร่วมในการวาง แผนและบริหารจัดการน้ำ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM5 RBM6 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

KPI 2.3 4 BSC จำนวนครั้งที่กรมให้การสนับสนุนโดยการจัดการน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาด้านนิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM7 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

CSF. 3 ผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 2 Kpi

KPI 3.1 ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย 5 BSC ภายนอกองค์กร ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย แบบฟอร์ม: RBM8 RBM9 ความถี่การวัด: ทุกฤดูฝน / แล้ง ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

KPI 3.2 6 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานที่พอใจต่อการบริหารจัดการน้ำ ภายนอกองค์กร แบบสอบถาม: RBM10 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สอน. > กผง.

ข. ด้านภายใน องค์กร BSC ภายในองค์กร Internal Perspective

CSF. 4 BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) บุคลากรมีความเชี่ยวชาญงานในหน้าที่ มีความรู้ในงานที่เกี่ยวข้อง มีจริยธรรมและมีจิตสำนึกในการให้บริการ 3 Kpi

KPI 4.1 ร้อยละของผู้บริหารที่พึงพอใจต่อการทำงานของบุคลากรของกรม 7 BSC ร้อยละของผู้บริหารที่พึงพอใจต่อการทำงานของบุคลากรของกรม ภายในองค์กร แบบสอบถาม: RBM11 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.

KPI 4.2 ร้อยละของบุคลากรที่พอใจในการทำงานของผู้บริหาร 8 BSC ร้อยละของบุคลากรที่พอใจในการทำงานของผู้บริหาร ภายในองค์กร แบบสอบถาม: RBM12 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.

ทุกหน่วย > สพบ. > กผง. KPI 4.3 9 BSC ร้อยละของผู้รับบริการที่พอใจต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรม ภายในองค์กร ตู้รับความคิดเห็น : แบบRBM13 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > สพบ. > กผง.

CSF. 5 BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) แผนงานในขบวนการศึกษา สำรวจ ออกแบบ จัดหาที่ดิน และแผนปฏิบัติการในการก่อสร้างชัดเจนและมีการปฏิบัติงานตามแผน 2 Kpi

ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ที่ดิน/ก่อสร้าง > กผง. KPI 5.1 10 BSC ร้อยละของโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางที่ดำเนินการได้ตามแผน ภายในองค์กร แบบฟอร์ม: RBM14 RBM17 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ที่ดิน/ก่อสร้าง > กผง.

ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ก่อสร้าง > กผง. KPI 5.2 11 BSC ร้อยละของโครงการชลประทานขนาดเล็กที่ดำเนินการได้ตามแผน ภายในองค์กร แบบฟอร์ม: RBM15 RBM17 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ก่อสร้าง > กผง.

CSF. 6 แผนและการบริหารจัดการน้ำชัดเจน มีประสิทธิภาพ 2 Kpi ภายในองค์กร BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) แผนและการบริหารจัดการน้ำชัดเจน มีประสิทธิภาพ 2 Kpi

KPI 6.1 ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 12 BSC ภายในองค์กร ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง. KPI 6.2 13 BSC ภายในองค์กร ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูแล้ง แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

ค. ด้าน นวัตกรรม BSC นวัต กรรม Innovation Perspective

CSF. 7 BSC นวัต กรรม ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การพัฒนาระบบเทคโน โลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาแหล่งน้ำ และจัดการน้ำ 1 Kpi

KPI 7.1 แบบฟอร์ม : RBM20 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน สศท. > กผง. 14 BSC ร้อยละของความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาแหล่งน้ำและจัดการน้ำ นวัต กรรม แบบฟอร์ม : RBM20 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน สศท. > กผง.

ง. ด้าน การเงิน BSC การเงิน Financial Perspective

CSF. 8 การใช้ทรัพยากรได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า 1 Kpi การเงิน BSC ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การใช้ทรัพยากรได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า 1 Kpi

ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง. KPI 8.1 15 BSC ต้นทุนในการบริหารจัดการน้ำต่อไร่ การเงิน แบบฟอร์ม: RBM21 RBM22 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.

CSF. 9 BSC การเงิน ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบราชการ ปราศจากทุจริต และประพฤติมิชอบ 2 Kpi

KPI 9.1 16 BSC จำนวนบุคลากรที่ได้รับการตัดสินจาก อ.ก.พ. กรมว่าทุจริตและประพฤติมิชอบ การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.

KPI 9.2 จำนวนบุคลากรที่ถูกลงโทษฐานทำผิดวินัยทาง งบประมาณและการคลัง 17 BSC จำนวนบุคลากรที่ถูกลงโทษฐานทำผิดวินัยทาง งบประมาณและการคลัง การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี กงบ. > กผง.

CSF. 10 การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณเป็นไปตามแผน 1 Kpi การเงิน BSC ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณเป็นไปตามแผน 1 Kpi

ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > กงบ. > กผง. KPI 10.1 18 BSC ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณหมวดงบลงทุนที่เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > กงบ. > กผง.

ขั้นตอน การรายงานข้อมูล

หน่วยรับผิดชอบข้อมูล คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM การรายงานข้อมูล หน่วยรับผิดชอบข้อมูล หน่วยรวบ รวมข้อมูล กอง แผนงาน 27 สำนัก/กอง 6 สำนัก/กอง คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM

หน่วยรับผิดชอบข้อมูล การรายงาน ข้อมูล หน่วยรับผิดชอบข้อมูล 27 สำนัก/กอง

การรายงาน ข้อมูล หน่วยรวบ รวมข้อมูล 6 สำนัก/กอง

แผนปฏิบัติการ หน่วยงานรับผิดชอบข้อมูล

แผนปฏิบัติการ หน่วยงานรวบรวมข้อมูล

เครื่องมือ คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM (อธช. เป็นประธาน) คณะทำงานรวบรวมข้อมูล 6 คณะ เจ้าหน้าที่ RBM ประจำสำนัก/กอง

การบ้านวันนี้ จัดแบ่งกลุ่มผู้ใช้น้ำ 2. ตั้งตู้รับความคิดเห็น

จัดแบ่งกลุ่มผู้ใช้น้ำ Kpi 1.1 2.2 3.2 จัดแบ่งกลุ่มผู้ใช้น้ำ โจทย์ พท.ชป. 22.18 ล้านไร่ มีกี่กลุ่มผู้ใช้น้ำ ?… ตอบ กลุ่มจริง ... กลุ่ม กลุ่มเงา ... กลุ่ม หนังสือ RBM หน้า 94

ตู้รับความคิดเห็น กรมชลประทาน Kpi 4.3 กรมชลประทาน สถานที่ติดตั้ง การรายงานผล กรมฯ สามเสน /ปากเกร็ด (สลก. รับผิดชอบ) สำนักชลประทาน โครงการ สถานที่ ที่มีประชาชนมาติดต่อ ทุก 1 เดือน รวบรวมส่ง สพบ. วางแบบสอบถามไว้ใกล้ตู้ และ ยื่นแบบสอบถามให้ลูกค้ากรอก เมื่อติดต่องานเสร็จ

RBM Training บังคับ... 2,000 คน 2. ให้สมัคร... 2,000 คน 11 มิ.ย. 46 บังคับ... 2,000 คน 11 มิ.ย. 46 16-20 มิ.ย. 46 2. ให้สมัคร... 2,000 คน

RBM Application www.ocsc.go.th/rbms

เงื่อนไขความสำเร็จ ผู้บริหารระดับสูง มีความเข้าใจและสนับสนุน ผู้บริหารมีความรู้ในการวางแผนยุทธศาสตร์

แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน Vision แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน PBB RBM Performance Based Budgeting Results Based Manegement

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (Public Sector Development Division) กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ www.rid.go.th/reform กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์