ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
Somwang Witayapanyanond 26 April 2013
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
โครงการระบบประปา โรงเรียนดารุลฮิกมะห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส สถานที่ตั้ง หมู่ที่ 1 ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส.
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
กรณีศึกษาเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย
(Applications of Derivatives)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
whey เวย์ : casein เคซีน
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงานที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียต้องติดตั้งเครื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม.
การประหยัดน้ำในอุตสาหกรรมยาง
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สาเหตุของดินเสีย.
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมมลภาวะอากาศ
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
2.ระบบพืชบำบัดน้ำเสีย พืชกรองน้ำเสีย ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน้ำเทียม.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
คู่มือผลิตภัณฑ์ - สำหรับตัวแทนจำหน่าย - MICHELIN อีกขั้นของความแข็งแกร่ง ทนทานเพิ่มขึ้น 20% ยางมอเตอร์ไซค์มิชลินถูกออกแบบและผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงที่ทำให้ได้
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การเลี้ยงกุ้งเชิงเศรษฐนิเวศน์ด้านพลังงาน
863封面 ทองคำ เขียว.
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ผู้อำนวยการโรงเรียนกระจายสุทธิธรรมโมฯ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ ดร.เกษมสันติ์ สุวรรณรัต ประธานThai Flood Forum สวสท B.Eng.(civil, Hydraulics), Chulalongkorn, 1966 M.Sc.(Public Health Engineering), Newcastle upon Tyne (U.K.), 1968 Dr.-Ing T.H. Darmstadt, (Germany), 1979 ประธานกรรมการองค์การจัดการน้ำเสีย 2003-2005

ปัญหาน้ำเสียน้ำเน่า อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร อากาศมีออกซิเจน 8มกต่อลิตร น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน TKN 2,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีปุ๋ยผักตบ P 1,000 มกต่อคนต่อวัน

น้ำไหลเร็ว น้ำตื้น ช่วยเติมออกซิเจน หยุดน้ำเน่า ออกซิเจนเข้า เป็น กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ความเร็ว เป็น เมตรต่อวินาที ความลึก เป็น เมตร

เวลาผ่านไป บีโอดี ทำลายออกซิเจน อากาศช่วยเติม deoxygenation มาจาก บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน และ reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ มกต่อตารางเมตรต่อวัน คือ  คือการขาดออกซิเจนในตอนเริ่มต้น ลดลงเรื่อยๆเพราะ บีโอดี  พอเวลาที่ผ่านไป reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ จนมากกว่า บีโอดี DO จะกลับสูงขึ้น สมการสตรีทเต้อ-เฟลป์สเป็นที่รู้จักกันสมการเส้นย้อยของ ออกซิเจน”DO Sag Curve”

เครื่องเติมอากาศศูนย์แพทย์พัฒนา พระราม๙

เครื่องเติมอากาศใช้เลี้ยงจุลินทรีย์กำจัด บีโอดี

เครื่องเติมอากาศลงน้ำ น้ำส่งต่อให้จุลินทรีย์

บีโอดีมาก เครื่องเติมอากาศใหญ่ จุลินทรีย์MLSSมากกำจัดได้มากแต่ก็กินออกซิเจนมาก

จุลินทรีย์MLSSมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอย ถ้าไม่ลอยก็กินออกซิเจนไม่ได้ MLSS=50+25(E-4)

แอเรเต้อร์ น่าใช้จริงจังระยะยาวปั้มลมลงไปเป็นฟองในน้ำก็เติมอากาศได้จริงแต่เครื่องอุปกรณ์มากลงทุนสูงทั้ท่อและถัง

เครื่องเติมอากาศชัยพัฒนา

ปั้มน้ำลงไปเป็นฟองก็เติมอากาศได้แต่กินไฟ 2เท่าของแอเรเต้อร์ จึงไม่น่าใช้จริงจังระยะยาว

ถังบำบัดเลี้ยงจุลินทรีย์MLSSเข้มข้นมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอยกินBODและออกซิเจนมากๆ ในที่จำกัด

สรุป การเติมอากาศด้วยระบบแอเรเต้อร์แบบใดๆเป็นการเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์การเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์เป็นการจับมลพิษ บีโอดี N P Sให้เป็นตะกอนMLSS ตะกอนMLSS ประกอบด้วยC50H70N10O20SPเป็นอาหารปลา C50H70N10O20SP เป็นตะกอนตกลงก้นบ่อสะสมเป็นดินโคลน