ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ ของงานชลประทานและการปรับปรุง คุณภาพน้ำ ดร.เกษมสันติ์ สุวรรณรัต ประธานThai Flood Forum สวสท B.Eng.(civil, Hydraulics), Chulalongkorn, 1966 M.Sc.(Public Health Engineering), Newcastle upon Tyne (U.K.), 1968 Dr.-Ing T.H. Darmstadt, (Germany), 1979 ประธานกรรมการองค์การจัดการน้ำเสีย 2003-2005
ปัญหาน้ำเสียน้ำเน่า อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร อากาศมีออกซิเจน 280มกต่อลิตร อากาศมีออกซิเจน 8มกต่อลิตร น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีตัวทำลายออกซิเจน TKN 2,000 มกต่อคนต่อวัน น้ำเสียจากคนมีปุ๋ยผักตบ P 1,000 มกต่อคนต่อวัน
น้ำไหลเร็ว น้ำตื้น ช่วยเติมออกซิเจน หยุดน้ำเน่า ออกซิเจนเข้า เป็น กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ความเร็ว เป็น เมตรต่อวินาที ความลึก เป็น เมตร
เวลาผ่านไป บีโอดี ทำลายออกซิเจน อากาศช่วยเติม deoxygenation มาจาก บีโอดี 30,000 มกต่อคนต่อวัน และ reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ มกต่อตารางเมตรต่อวัน คือ คือการขาดออกซิเจนในตอนเริ่มต้น ลดลงเรื่อยๆเพราะ บีโอดี พอเวลาที่ผ่านไป reaeration มาจากอากาศซึมเข้าผิวน้ำ จนมากกว่า บีโอดี DO จะกลับสูงขึ้น สมการสตรีทเต้อ-เฟลป์สเป็นที่รู้จักกันสมการเส้นย้อยของ ออกซิเจน”DO Sag Curve”
เครื่องเติมอากาศศูนย์แพทย์พัฒนา พระราม๙
เครื่องเติมอากาศใช้เลี้ยงจุลินทรีย์กำจัด บีโอดี
เครื่องเติมอากาศลงน้ำ น้ำส่งต่อให้จุลินทรีย์
บีโอดีมาก เครื่องเติมอากาศใหญ่ จุลินทรีย์MLSSมากกำจัดได้มากแต่ก็กินออกซิเจนมาก
จุลินทรีย์MLSSมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอย ถ้าไม่ลอยก็กินออกซิเจนไม่ได้ MLSS=50+25(E-4)
แอเรเต้อร์ น่าใช้จริงจังระยะยาวปั้มลมลงไปเป็นฟองในน้ำก็เติมอากาศได้จริงแต่เครื่องอุปกรณ์มากลงทุนสูงทั้ท่อและถัง
เครื่องเติมอากาศชัยพัฒนา
ปั้มน้ำลงไปเป็นฟองก็เติมอากาศได้แต่กินไฟ 2เท่าของแอเรเต้อร์ จึงไม่น่าใช้จริงจังระยะยาว
ถังบำบัดเลี้ยงจุลินทรีย์MLSSเข้มข้นมากเครื่องเติมอากาศใหญ่เพื่อตี MLSS ให้ลอยกินBODและออกซิเจนมากๆ ในที่จำกัด
สรุป การเติมอากาศด้วยระบบแอเรเต้อร์แบบใดๆเป็นการเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์การเลี้ยงตะกอนจุลินทรีย์เป็นการจับมลพิษ บีโอดี N P Sให้เป็นตะกอนMLSS ตะกอนMLSS ประกอบด้วยC50H70N10O20SPเป็นอาหารปลา C50H70N10O20SP เป็นตะกอนตกลงก้นบ่อสะสมเป็นดินโคลน