กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร
กระบวนการของเงินสมาชิก สมาชิก กบข. 1 ส่งเงินสะสม 3 % ของเงินเดือน หรือเงินสะสมส่วนเพิ่มเป็นประจำทุกเดือน สมาชิก / ทายาท 7 รับเงินตามสิทธิ ด้วยวิธีการที่ระบุไว้ กบข. 3 - ตรวจสอบเงินรับจากสมาชิก - นำเงินไปลงทุนตามกรอบ นโยบาย - คำนวณมูลค่าสินทรัพย์ตาม ราคาตลาด (Mark to Market) - ระบบการบันทึกมูลค่าเงินในรูป ของหน่วย และมูลค่าต่อหน่วย รายวัน (Daily Unitization) แจ้งผลผ่านใบแจ้งยอด หน่วยงานต้นสังกัด 2 จัดทำข้อมูล และนำส่งเงินมาที่ กบข. กบข. 6 ตรวจสอบข้อมูลและเอกสารต่างๆ หน่วยงานต้นสังกัด 5 ตรวจสอบสิทธิและเอกสารต่างๆ สมาชิก / ทายาท ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวบัญชีสมาชิกทาง GPF Web Service ยื่นแบบขอรับเงิน และเอกสารต่างๆ 4
กระบวนการของเงินสมาชิก 1 ส่งเงินสะสม 3 % ของเงินเดือน หรือเงินสะสมส่วนเพิ่มเป็นประจำทุกเดือน สมาชิก กบข. 2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดทำข้อมูล และนำส่งเงินมาที่ กบข. 3 แจ้งผลผ่านใบแจ้งยอด - ตรวจสอบเงินรับจากสมาชิก - นำเงินไปลงทุนตาม กรอบนโยบาย - คำนวณมูลค่าสินทรัพย์ตาม ราคาตลาด (Mark to Market) - ระบบการบันทึกมูลค่าเงินในรูป ของหน่วย และมูลค่าต่อหน่วย รายวัน (Daily Unitization) กบข. ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวบัญชีสมาชิกทาง GPF Web Service
กรอบการลงทุนของ กบข. พ.ร.บ. กบข. กฎกระทรวง คณะกรรมการกำหนด นำเงินไปลงทุนตามกรอบนโยบาย กรอบการลงทุนของ กบข. พ.ร.บ. กบข. กฎกระทรวง คณะกรรมการกำหนด
สัดส่วนการลงทุน กบข. (ตามกฎกระทรวง) สินทรัพย์ที่มี ความมั่นคงสูง 60% สินทรัพย์อื่น 40%
กระบวนการของเงินสมาชิก 1 ส่งเงินสะสม 3 % ของเงินเดือน หรือเงินสะสมส่วนเพิ่มเป็นประจำทุกเดือน สมาชิก กบข. 2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดทำข้อมูล และนำส่งเงินมาที่ กบข. 3 แจ้งผลผ่านใบแจ้งยอด - ตรวจสอบเงินรับจากสมาชิก - นำเงินไปลงทุนตามกรอบนโยบาย - คำนวณมูลค่าสินทรัพย์ ตามราคาตลาด (Mark to Market) - ระบบการบันทึกมูลค่าเงินในรูป ของหน่วย และมูลค่าต่อหน่วย รายวัน (Daily Unitization) กบข. ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวบัญชีสมาชิกทาง GPF Web Service
ทำไมจึงต้องใช้ Mark to Market
กระบวนการของเงินสมาชิก 1 ส่งเงินสะสม 3 % ของเงินเดือน หรือเงินสะสมส่วนเพิ่มเป็นประจำทุกเดือน สมาชิก กบข. 2 หน่วยงานต้นสังกัด จัดทำข้อมูล และนำส่งเงินมาที่ กบข. 3 - ตรวจสอบเงินรับจากสมาชิก - นำเงินไปลงทุนตามกรอบนโยบาย - คำนวณมูลค่าสินทรัพย์ตามราคา ตลาด (Mark to Market) - ระบบการบันทึกมูลค่าเงิน ในรูปของหน่วย และ มูลค่าต่อหน่วยรายวัน (Daily Unitization) แจ้งผลผ่านใบแจ้งยอด กบข. ตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวบัญชีสมาชิกทาง GPF Web Service
สินทรัพย์สุทธิของกองทุนส่วนสมาชิก ระบบการบันทึกมูลค่าเงินในรูปของหน่วย และมูลค่าต่อหน่วยรายวัน (Daily Unitization) สินทรัพย์สุทธิของกองทุนส่วนสมาชิก จำนวนหน่วย มูลค่าต่อหน่วย
จำนวนหน่วย = จำนวนเงิน มูลค่าต่อหน่วย ณ วันทำรายการ จำนวนหน่วย (Unit) จำนวนหน่วย = จำนวนเงิน มูลค่าต่อหน่วย ณ วันทำรายการ จะลด เมื่อมีการถอนเงินจากกองทุน จะเพิ่ม เมื่อมีการส่งเงินเพิ่ม
มูลค่าต่อหน่วย = มูลค่าทรัพย์สินสุทธิรวมของกองทุน จำนวนหน่วย มูลค่าหน่วย (Unit Price) มูลค่าต่อหน่วย = มูลค่าทรัพย์สินสุทธิรวมของกองทุน จำนวนหน่วย จะลด เมื่อผลการลงทุนเป็น ลบ หรือ ขาดทุน จะเพิ่ม เมื่อผลการลงทุนเป็น บวก หรือ ได้กำไร มูลค่าต่อหน่วยของเงินลงทุน เปลี่ยนแปลงตามราคาตลาด
จำนวนเงินนำส่ง 1,500 บาท 1,500 15.00 100.0000 หน่วย = ตัวอย่างการคำนวณจำนวนหน่วย จำนวนเงินนำส่ง 1,500 บาท 1,500 15.00 100.0000 หน่วย = มูลค่าต่อหน่วย ณ วันนำส่ง เท่ากับ 15.00 บาท
นาย ก. มีจำนวนหน่วยในบัญชี กบข. อยู่เท่ากับ 12,000 หน่วย ตัวอย่างการคำนวณยอดเงินของสมาชิก นาย ก. มีจำนวนหน่วยในบัญชี กบข. อยู่เท่ากับ 12,000 หน่วย ณ วันที่ 3 ม.ค. 50 มูลค่าต่อหน่วยเท่ากับ 13.0000 บาท ยอดเงินในบัญชี กบข. = 156,000 บาท 12,000 X 13
ตัวอย่างการคำนวณยอดเงินของสมาชิก 3 ม.ค. 50 วันที่ เงินนำส่ง จำนวนหน่วย มูลค่าหน่วย ยอดเงิน 12,000.00 13.0000 156,000 10 ม.ค. 50 12,000.00 12.7500 153,000 20 ม.ค. 50 12,000.00 12.9000 154,800 31 ม.ค. 50 +2,500 +188.6792 13.2500 31 ม.ค. 50 12,188.6792 13.2500 161,500
นักลงทุน (สถาบันและบุคคล) เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทย ตลาดเงิน ตลาดทุน นักลงทุน (สถาบันและบุคคล) สมาชิก กบข.