การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย(Research Process)
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
งานวิจัยที่ดี.
Management Information Systems
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การออกแบบการวิจัย.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
ขั้นตอนการทำวิจัย (การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือวิทยานิพนธ์) สายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปรับปรุง 9 เมษายน 2557.
การเขียนรายงานการวิจัย
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำวิจัย
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การวิจัยคืออะไร การค้นหาข้อเท็จจริง ด้วยการศึกษา ค้นคว้า และ/หรือทดลองเพื่อสนองตอบต่อวัตถุประสงค์ ด้วยวิธีการที่มีระเบียบ แบบแผน อันจะได้ผลการวิจัยที่น่าเชื่อถือ

ประเภทของงานวิจัย งานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) แบ่งโดยระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) งานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) งานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)

คุณสมบัติของเครื่องมือการวิจัยที่ดี สามารถแยกแยะได้ (discrimination) วัตถุวิสัย ชัดเจน (Objective) มีความถูกต้อง (Validity) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) มีความเชื่อมั่น (Reliability)

คุณสมบัติของนักวิจัยที่ดี ซื่อสัตย์ต่องานวิจัย ซื่อสัตย์ต่อตนเองและนักวิจัยอื่น ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่วิจัย

งานวิจัยที่ดี วัตถุประสงค์ ระยะเวลา การวางแผนขั้นตอน วิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลที่ดี เหมาะสม และถูกต้อง เป็นการรวบรวมข้อมูลใหม่ ข้อมูลตรงตามกลุ่มเป้าหมาย เที่ยงตรง และเชื่อถือได้ สามารถตรวจสอบได้

งานวิจัยที่น่าสนใจ ไม่ล้าสมัย ความใหม่ เกิดประโยชน์เชิงกว้างและ/หรือเชิงลึก ขอบเขต และประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย

งานวิจัยเริ่มต้นอย่างไร กำหนดขอบเขตงานวิจัยให้ชัดเจน วิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปัญหา กำหนดแนวทางการทำวิจัยให้เหมาะสมกับความรู้ ค้นคว้า ศึกษาในข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางและวิธีการทำวิจัย เข้าสู่กระบวนการวิจัย

ปัญหาในการนิยามโจทย์ มองไม่เห็นปัญหา ความรู้ไม่เพียงพอ มองแคบ หรือมองในแง่มุมเดียว ไม่สามารถแยกแยะอาการของปัญหาออกจากปัญหา กำหนดหน่วยการศึกษากับตัวแปรไม่เหมาะสม

ปัญหาในการกำหนดกระบวนการวิจัย ความไม่ชัดเจนของปัญหา ความไม่สมบูรณ์และไม่เพียงพอของข้อมูล บทบาทของนักวิจัย วัฒนธรรม สังคม และองค์กร การเมือง

ข้อควรระวัง ความชัดเจนของโจทก์ ความครบถ้วนขององค์ประกอบ ความเหมาะสมในรูปแบบการวิจัย การเลือกเครื่องมือในการวิเคราะห์ การตีความและอธิบายผลการวิจัย ความชัดเจนของบทสรุปและข้อเสนอแนะ การเปิดเผยของจำกัดในการศึกษา จริยธรรมและมาตรฐานการวิจัย

ขั้นตอนการทำวิจัย บทนำ ทบทวนวรรณกรรม วิธีการวิจัย ผลการศึกษา และการวิเคราะห์ผล อภิปรายผล สรุป และเสนอแนะ

บทนำ ปัญหาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ในการศึกษา ขอบเขตของการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับจากการวิจัย

ทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย งานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย กรอบที่ใช้ในการศึกษา

วิธีการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือการวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการศึกษาและการวิเคราะห์ผล ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล

อภิปรายผล สรุปและเสนอแนะ อภิปรายผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ

Q&A