แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
งบประมาณ ปี 2551 ขอไป 2,139 บ / ปชก ได้มา 2,100 บ / ปชก สปสช. สำนักงบประมาณ 97,600 ล้านบาท หักเงินเดือน 25,400 ล้านบาท 72,200 ล้านบาท.
ช่องทางการกำกับติดตามข้อมูลจาก สปสช.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพ ปี 2554 ตามมติ ครม. มี 2 งวด ได้แก่
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
ระบบ IT สปสช. กับงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
การบริหารเวชภัณฑ์.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
ภารกิจสำนักงานประกันสังคม
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
1 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะโรคเม ตาบอลิก ปีงบประมาณ 2553 พื้นที่กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ระบบลงทะเบียนบุคคลพิการขาขาด
Palliative Care e-Claim.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ปี 2554

ปัญหาการดำเนินงานปี 2553 1. หน่วยบริการไม่สามารถลงทะเบียนได้ครบถ้วนตามเวลาที่กำหนดไว้ 2. มีบัตรประจำตัวบุคคลแต่ตรวจสอบแล้วไม่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล ของ สนบท. 3. การเข้าถึงบริการมีน้อย 4. ใช้สิทธิไม่ตรงกับภูมิลำเนา 5. หน่วยบริการปฏิเสธการรักษาหากมารับบริการไม่ ตรงกับทะเบียนบ้าน 6. การจัดสรรเงินรายหัวในงวดแรก(ร้อยละ 60) ไม่ตรงกับจำนวน กลุ่มเป้าหมาย 7. การเบิก Claim มีปัญหาในเชิงเทคนิคและระเบียบการเบิก

สิ่งที่ปรับปรุงในปี 2554 1. การลงทะเบียน 1. การลงทะเบียน หน่วยบริการที่ให้การรักษาสามารถลงทะเบียนได้ทันทีเมื่อมีกลุ่มเป้าหมายมารับบริการ แม้ไม่มีชื่อใน สนบท. แต่ทั้งนี้ต้องเป็นกลุ่มเป้าหมายตามมติ ครม. 2. การตรวจสอบสิทธิ ผ่านหน้าเว็บไซต์ กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3. การใช้บริการ สามารถใช้บริการข้ามเขตภายในจังหวัดได้ 4. มีเงินสำรองส่วนกลาง ให้มีเงินสำรองไว้ส่วนกลางกรณีกลุ่มเป้าหมายที่เป็นรายใหม่ รวมทั้งกรณีฉุกเฉินข้ามเขต(จังหวัด) 5. ระบบการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ ดำเนินการโดย กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

กรอบการจัดสรรงบประมาณผู้มีสถานะและสิทธิ งบประมาณปี 2554 39 % (358,073,781 บาท) กลุ่มประกันสุขภาพ 60% (550,882,740 บาท) 1 % (9,181,379 บาท) 20 % (183,627,580 บาท) โอนล่วงหน้าให้หน่วยบริการตามจำนวนประชากรในฐาน 30 ก.ย. 53 = 80%, ตรวจสอบข้อมูลถูกต้องโอนเพิ่ม= 20% งบ PP, OP Normal OP Refer ทั้งใน เขตและนอกเขตพื้นที่ และ กทม (3 รพ.) OP AE ในเขตพื้นที่ และ กทม(3 รพ.) ค่าบริหารจัดการ สสจ.และกรมการแพทย์ ค่าบริหารจัดการ สป. -ค่าใช้จ่ายในการให้บริการกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มีชื่อในฐานข้อมูล, -กลุ่มเป้าหมายรายใหม่, -ผู้ที่ออกนอกพื้นที่ไม่มีใบอนุญาต OP Normal, OPAE, OPHC IP Normal. IPAE, IPHC IP Refer , Inst ตรวจวินิจฉัยราคาแพง OP AE, OPHC IP Normal, IPAE,IPHC สสจ / กทม 40% (367,255,160 บาท) เงินงบประมาณ 100% (918,137,900 บาท) กองทุนกลางเพื่อเบิกชดเชยค่าบริการ ทางการแพทย์ กลุ่ม 30 ก.ย.53 กรอบการจัดสรรงบประมาณผู้มีสถานะและสิทธิ งบประมาณปี 2554

การใช้บริการ 1. บริการผู้ป่วยในทั่วไป (IP Normal) 2. บริการผู้ป่วยในส่งต่อ (IP Refer) 3. บริการผู้ป่วยในที่มีค่าใช้จ่ายสูง (IP HC) 4. บริการผู้ป่วยในกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (IP AE) 5. กรณีผู้ป่วยนอกทั่วไป (OP Normal) 6. กรณีผู้ป่วยนอกที่มีค่าใช้จ่ายสูง (OP HC) 7. กรณีผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OP AE) 8. กรณีการใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค (Instrument: INST) 9. กรณีตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ ของผู้ป่วยนอกที่เป็นบริการแบบ Ambulatory care

ระบบการส่งต่อ 1. การส่งต่อผู้ป่วยให้ปฏิบัติตามขั้นตอนของระบบการส่งต่อของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2. กรณีต้องส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาในเขต กทม. ให้มีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลที่ทำการรักษาพยาบาลขั้นต้น โดยให้ส่งต่อไปยังโรงพยาบาล 1) โรงพยาบาลเลิดสิน 2) โรงพยาบาลราชวิถี 3) โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ยกเว้นกรณีที่โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง ไม่สามารถรับการส่งต่อได้ สามารถทำใบส่งตัวไปรักษายังโรงพยาบาลอื่นได้ตามความเหมาะสม