การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูล ระบบฐานข้อมูล Online โรคจากการประกอบอาชีพฯ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การเบิก OPV รณรงค์ ผ่านระบบ VMI
การปรับเปลี่ยนประมาณการใช้ยา และการคืนยา (ปรับ FM3)
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ สปส.
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน
Formulation of herbicides Surfactants
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
VMI (Vendor Managed Inventory)
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
แนวทางการสนับสนุนยาและวัคซีน
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ปี 2008
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ความเป็นมาของโครงการนำร่องวัคซีน JE ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ SA
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
รับนโยบาย “ การบริหารคลังเดียว”
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
ชัฌฎา ลอม ศรี นักจิตวิทยา แนวทางการ ดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ ภญ. ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป

คุณสมบัติของวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(CD คุณสมบัติของวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(CD. JEVAX ) เป็นวัคซีนชนิดผงแห้ง มีสีเหลืองอ่อน ส่วนประกอบของวัคซีน : เชื้อไวรัสเจอีสายพันธุ์ SA14-14-2, gelatin, sucrose, lactose, urea และ human serum albumin น้ำยาละลายวัคซีนคือ Sterile water for injection เมื่อละลายด้วยน้ำยาละลายวัคซีนแล้ว จะได้น้ำยาใสสีส้มแดง หรือสีชมพูอ่อน และควรใช้ภายใน 1 ชม.

CD.JEVAX Inj. (Japanese Encephalitis Vaccine, Live) วัคซีนหลังจากผสมกับ diluent

คุณสมบัติของวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(CD คุณสมบัติของวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(CD. JEVAX ) ขนาดที่ใช้ : ฉีด SC ขนาด 0.5 มล. ในเด็กอายุอย่างน้อยที่สุด 9 เดือน ฉีดกระตุ้น 1 ครั้ง ห่างจากครั้งแรก 3 เดือน - 1 ปี วัคซีนผงแห้งเก็บและขนส่งวัคซีนในอุณหภูมิ +2 ถึง +8 °c และ ป้องกันแสง น้ำยาละลายเก็บในอุณหภูมิ +2 ถึง +30 °c การบรรจุ : วัคซีนผงแห้งบรรจุขวดละ 1 โด๊ส ; 10ขวด/กล่อง น้ำยาละลายบรรจุขวดละ 0.5 มล. ; 10ขวด/กล่อง

CD.JEVAX Inj. (Japanese Encephalitis Vaccine, Live) ขวดบรรจุ diluent 0.5ml. หน่วยย่อยด้านใน (water for injection) ขวดบรรจุวัคซีน(Lyophilized) หน่วยย่อยด้านใน Packaging of CD.JEVAX ปริมาตรของวัคซีน/น้ำยาละลาย 10โด๊ส/กล่อง กว้างxยาวxสูง= 3.5cm.x8.6cm.x4.3cm. =129.43 cubic cm. =0.129 litres

ความจุช่องแช่เย็น(ลิตร) ตู้เย็นชนิด 2 ประตู ขนาดคิว ความจุช่องแช่เย็น(ลิตร) 10 200 15 320 18 360 20 420

ใบเล็ก ความจุภายใน = 1.7 ลิตร ใบใหญ่ความจุภายใน = 3.4 ลิตร กระติกบรรจุวัคซีน ใบเล็ก ความจุภายใน = 1.7 ลิตร ใบใหญ่ความจุภายใน = 3.4 ลิตร

การเก็บรักษาวัคซีนในคลังอำเภอ/หน่วยบริการ ตัวทำละลายวัคซีนเก็บในช่อง +2 to +8 ํC ถ้าคลังมีพื้นที่ไม่เพียงพอให้เก็บที่อุณหภูมิห้อง

การเบิกวัคซีนโดยหน่วยบริการ ใช้แบบฟอร์ม ว.3/1 ในการเบิก และการรายงานผล การให้บริการวัคซีนของหน่วยบริการ(WBC, ANC, Labor room, รพสต./PCU) ส่งทาง e-mail หน่วยบริการ สสอ. ฝ่ายเภสัชกรรม แบบฟอร์ม ว.3/1

LAJE

การคำนวณจำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (100- อัตราสูญเสีย) x ขนาดบรรจุต่อขวด จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้(ขวด) = จำนวนเด็กที่ให้บริการ x100

การคาดประมาณการเบิกวัคซีนเจอีเชื้อเป็น สูตรในการคำนวณ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้(ขวด) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 100 (100-อัตราสูญเสีย)x 1 โด๊ส = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01

* จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ = ขวด X ขนาดบรรจุ การคำนวณอัตราสูญเสียวัคซีนที่เกิดจากการให้บริการ จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) - จำนวนผู้มารับบริการ * จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ (โด๊ส) อัตราสูญเสียของวัคซีน = X 100 * จำนวนวัคซีนที่เปิดใช้ = ขวด X ขนาดบรรจุ

รายงานการเบิก การให้บริการและการสูญเสียวัคซีน ฝ่ายเภสัชกรรมส่ง “แบบฟอร์ม LAJE” ที่รวบรวมข้อมูล การเบิก การใช้ และการสูญเสียวัคซีนจากแบบฟอร์ม ว.3/1 ของหน่วยบริการทุกแห่ง ส่งทาง e-mail ไปที่ สสจ.(e-mail add. ของแต่ละจังหวัด) สคร.ที่ 10 (wattanaplace@yahoo.com) สำนักโรคติดต่อทั่วไป (pharmagcd@gmail.com และ epicontact@yahoo.com )

การเบิกวัคซีนโดยคลังอำเภอ(1) เบิกใน website ระบบ VMI ขององค์การเภสัชกรรมที่ http://scm.gpo.or.th/vmi โดยใช้ Username และ Password ของโครงการ EPI Routine พร้อมการเบิกวัคซีน ชนิดอื่น ตามกำหนดการ key in Onhand ในแต่ละเดือน

การเบิกวัคซีนโดยคลังอำเภอ(2) ในเดือนธันวาคม 2555 ซึ่งเป็นเดือนแรกที่มีการเบิกวัคซีนเจอี เชื้อเป็น คลิกเลือก Zero Onhand ของวัคซีน LAJE Key in Onhand ของวัคซีนเจอีชนิดเชื้อตายด้วย เพื่อ ทราบปริมาณวัคซีนที่องค์การเภสัชกรรมจะรับกลับจากฝ่ายเภสัช กรรมของโรงพยาบาลประจำจังหวัด(รพศ.หรือ รพท.) ซึ่งรวบรวม มาจากคลังวัคซีนของโรงพยาบาลทุกแห่ง

การเบิกวัคซีนโดยคลังอำเภอ(3)  ในช่วง 3 เดือนแรก จะใช้ค่า ROP และ Max Limit ของ วัคซีนเจอีเชื้อตาย หลังจากนั้นถ้าค่า ROP สูงเกินความต้องการ สามารถขอปรับค่า ROP โดยใช้ “แบบปรับเปลี่ยนปริมาณการใช้ วัคซีนเฉพาะวัคซีนเจอีเชื้อเป็น” ส่งไปที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค  โทรสาร 02-590-7716 หรือ e-mail  pharmagcd@gmail.com  somsakzp@gmail.com

สต็อกการ์ดวัคซีน ว/ด / ป หน่วยงาน จำนวน รับ จ่าย คงเหลือ ชื่อวัคซีน..................................................................................... ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ......................................................................... ขนาดบรรจุต่อขวด ....... โด๊ส ขนาดบรรจุต่อกล่อง...............ขวด ว/ด / ป หน่วยงาน จำนวน Lot.no. Expiry date รับ จ่าย คงเหลือ

โปรดดูแลหนูด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ