ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
คปสอ.เมืองปาน.
ส่งเสริมสัญจร.
การสนับสนุนการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) เครือข่ายบริการที่ 4.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
Pass:
สาขาโรคมะเร็ง.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ประจำเดือนธันวาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ Quality and Outcome Framework : QOF ปีงบประมาณ 2557 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1

ตัวชี้วัดที่1.2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการ ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1

ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละของสตรี 30-60ปี ได้รับการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปี 2553- 2557 ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1

ตัวชี้วัดที่ 1.4ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับ วัคซีนโรคหัด ค่าคะแนน 1=<93% 2=93-94.99% 3=95-96.99% 4=97-98.99% 5=>=99% =1

ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจช่องปาก ค่าคะแนน 1=<80% 2= 80 - 84.99% 3= 85 - 89.99% 4= 90- 94.99% 5=>=95% ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจช่องปาก =1

ตัวชี้วัดที่ 1.6 ประชาชน 15 ปีขึ้นไปได้รับ การคัดกรองเบาหวาน และความดัน ค่าคะแนน 1=<87.00% 2= 87.00- 89.99% 3= 90.00 - 92.99% 4= 93.00- 95.99% 5=>=96.00% =1

ตัวชี้วัดที่ 2.1 สัดส่วนการใช้บริการที่ หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่ รพ. ค่าคะแนน 1=<1.01 2=1.01-1.35 3=1.36-1.50 4=1.51-1.70 5=>1.70 =1

ตัวชี้วัดที่ 2.2 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืดสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5

ตัวชี้วัดที่ 2.3 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5

ตัวชี้วัดที่ 2.4 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของ HTสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5

ตัวชี้วัดที่ 2.5 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ ตรวจจอประสาทตาประจำปี ค่าคะแนน 1=<65% 2=65.00- 69.99% 3= 70.00 – 74.99% 4= 75.00- 79.99% 5=>=80% =1

ตัวชี้วัดที่ 2.6 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ <140/90 mmHg ค่าคะแนน 1= <45% 2= 45.00- 49.99% 3= 50.00 – 54.99% 4= 55.00- 59.99% 5=>=60% =1

ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้าน จากผลงานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2557 (สปสช.จะดึงข้อมูลสรุปเอง) การกำหนดช่วงคะแนน 1 = <60.00% 2 = 60.00 – 69.99% 3 = 70.00 – 79.99% 4 = 80.00 – 89.99% 5 = >=90.00%

ตัวชี้วัดที่ 3.2หน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านขึ้นทะเบียน แบบไม่มีเงื่อนไข ค่าคะแนน 1=<11% 2=12-12.99% 3=13-14.99% 4=15-16.99% 5=>=17% =1

ตัวชี้วัดที่ 3. 3 มีข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยง รพ ตัวชี้วัดที่ 3.3 มีข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยง รพ.และหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ CUP ต้องจัดระบบเชื่อมโยงข้อมูลบริการระหว่างรพ.แม่ข่ายกับ PCU เครือข่าย โดยแนวทางปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันในเครือข่ายเป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ CUP ประเมินตนเองมาก่อนตามการแปรผล จากนั้นให้ IT จังหวัด เป็นผู้พิจารณาให้คะแนนตามบริบทข้อเท็จจริงของแต่ละ CUP การแปลผล 1 = มีระบบการออกแบบระบบการเชื่อมโยงข้อมูลบริการระหว่างรพ.แม่ข่าย กับ PCU เครือข่าย เช่น มีโปรแกรม สำหรับส่งข้อมูลบริการ และมี แนวทางปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันในเครือข่ายเป็นลายลักษณ์อักษร 2 = มี 1 และมีการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ 3 = มี 2 และมีการทราบศักยภาพจุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อการพัฒนา รวมทั้งการ สะท้อนผลข้อมูลสู่หน่วยบริการ ปฐมภูมิในเครือข่าย 4 = มี 3 และมีการปรับปรุงหรือแผนพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง 5 = มี 4 และมีการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลการบริการในเครือข่ายมาวาง แผนการพัฒนาบริการอย่างน้อย 1 เรื่อง

ตัวชี้วัดที่ 3.4 หน่วยบริการประจำจัดระบบสนับสนุนบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ (ระบบยาและเวชภัณฑ์,IC,LAB,ระบบข้อมูล,ระบบการให้คำปรึกษา โรงพยาบาลแม่ข่าย จัดทำรายงาน CUP Profile ให้ สสจ.(กำหนดให้มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษรใช้ภายในเครือข่าย และในรายงาน CUP Profile ตามมาตรฐาน PCA กำหนด ส่ง สสจ . ภายในวันที่ 10 มีนาคม 2557 การแปลผล 1= มี 1 ข้อ,2= มี 2 ข้อ,3= มี 3 ข้อ ,4= มี 4 ข้อ , 5= มี 5 ข้อ

ตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละคนพิการที่ขึ้นทะเบียน ท74 ได้รับการสำรวจความพิการโดยใช้รหัส ICF ค่าคะแนน 1=<75% 2=75-79.99% 3=80-84.99% 4=85-89.99% 5=>=90% =1

ตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละคลินิก ANC คุณภาพ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% จังหวัดเลย รพ. ประเมินผ่าน 11 โรง = 84.61 % =5

ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% จังหวัดเลย รพ. ประเมินผ่าน 11 โรง = 84.61% =5

ตัวชี้วัดที่ 4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ค่าคะแนน 1=<25% 2=25-29.99% 3=30-34.99% 4=35-39.99% 5=>=40% ตัวชี้วัดที่ 4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน =1

ตัวชี้วัดที่ 4.6 ร้อยละผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ค่าคะแนน 1=<25% 2=25-29.99% 3=30.00-34.99% 4=35.00-39.99% 5=>=40% =1

ผลการดำเนินงานเครือข่ายบริการสุขภาพ ที่ 8

ด้านที่ 1 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ   1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ≥70 27.52 91.55 38.28 26.6 48.35 47.57 53.94   1.2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 34.63 88.03 38.63 42.47 44.69 58.05 52.58   1.3 ร้อยละของสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 0.2 58.47 81.07 78.76   47.78   1.4 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR 95 57.45 86.92 68.76 79.8 73.8 79.19 77.34   1.5 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ≥85 30.2 90.84 75.2 48.61   1.6 ร้อยละของประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ≥90 28 97.77 82.56 76.97 97.87 91.58 71.75

ด้านที่ 2 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ   2.1 สัดส่วน OP ปฐมภูมิ / รพ. ≥1.36 2 8.29 1.15 2.21 1.44 1.53   2.2 อัตราเข้าโรงพยาบาลจากโรคหืด 2.44   1.55 4.82 1.37 2.3   2.3 อัตราการเข้า รพ. จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน 0.6 1.94 0.42 3.35 2.58 3.11   2.4 อัตราการเข้า รพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นจากโรคความดันโลหิตสูง 0.1 0.39 0.06 0.32 0.99 0.5 0.61   2.5 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 13.61 48.51 42.83 19.65 53.96 36.14 27.54   2.6 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ < 140/90 mmHg เพิ่มขึ้น 50 51.98 22.11 50.76 47.04 21.49 48.03 59.03

ด้านที่ 3 : คุณภาพและผลงานการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ   3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ ≥70     3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน(ผ่านแบบไม่มีเงื่อนไข) 30 100 60.72   3.3 มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยงโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 80   3.4 มีการจัดระบบสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 3 ระบบ

ด้านที่ 4 : คุณภาพและผลงานบริการที่จำเป็น (พื้นที่) ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ   4.1 ร้อยละคนพิการที่ได้รับการประเมินความพิการด้วยรหัส ICF 80   83.72   4.2 ร้อยละคลินิค ANC คุณภาพ 70   4.3 ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ >70   4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 30 13.27 71.89 45.59 31.64   4.5 ร้อยละผู้ปุวยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 77.72   4.6 ร้อยละ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ≥31 19.87 10.41 11.96

จบการนำเสนอ