ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ Quality and Outcome Framework : QOF ปีงบประมาณ 2557 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1
ตัวชี้วัดที่1.2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการ ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละของสตรี 30-60ปี ได้รับการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปี 2553- 2557 ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% =1
ตัวชี้วัดที่ 1.4ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับ วัคซีนโรคหัด ค่าคะแนน 1=<93% 2=93-94.99% 3=95-96.99% 4=97-98.99% 5=>=99% =1
ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจช่องปาก ค่าคะแนน 1=<80% 2= 80 - 84.99% 3= 85 - 89.99% 4= 90- 94.99% 5=>=95% ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละของเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจช่องปาก =1
ตัวชี้วัดที่ 1.6 ประชาชน 15 ปีขึ้นไปได้รับ การคัดกรองเบาหวาน และความดัน ค่าคะแนน 1=<87.00% 2= 87.00- 89.99% 3= 90.00 - 92.99% 4= 93.00- 95.99% 5=>=96.00% =1
ตัวชี้วัดที่ 2.1 สัดส่วนการใช้บริการที่ หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่ รพ. ค่าคะแนน 1=<1.01 2=1.01-1.35 3=1.36-1.50 4=1.51-1.70 5=>1.70 =1
ตัวชี้วัดที่ 2.2 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืดสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5
ตัวชี้วัดที่ 2.3 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5
ตัวชี้วัดที่ 2.4 อัตราส่วนการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล(Admission rate) ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของ HTสิทธิ UC ค่าคะแนน 1=Q1 2=Q2 3=Q3 4=Q4 5=Q5
ตัวชี้วัดที่ 2.5 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ ตรวจจอประสาทตาประจำปี ค่าคะแนน 1=<65% 2=65.00- 69.99% 3= 70.00 – 74.99% 4= 75.00- 79.99% 5=>=80% =1
ตัวชี้วัดที่ 2.6 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ <140/90 mmHg ค่าคะแนน 1= <45% 2= 45.00- 49.99% 3= 50.00 – 54.99% 4= 55.00- 59.99% 5=>=60% =1
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้าน จากผลงานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2557 (สปสช.จะดึงข้อมูลสรุปเอง) การกำหนดช่วงคะแนน 1 = <60.00% 2 = 60.00 – 69.99% 3 = 70.00 – 79.99% 4 = 80.00 – 89.99% 5 = >=90.00%
ตัวชี้วัดที่ 3.2หน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านขึ้นทะเบียน แบบไม่มีเงื่อนไข ค่าคะแนน 1=<11% 2=12-12.99% 3=13-14.99% 4=15-16.99% 5=>=17% =1
ตัวชี้วัดที่ 3. 3 มีข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยง รพ ตัวชี้วัดที่ 3.3 มีข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยง รพ.และหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ CUP ต้องจัดระบบเชื่อมโยงข้อมูลบริการระหว่างรพ.แม่ข่ายกับ PCU เครือข่าย โดยแนวทางปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันในเครือข่ายเป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ CUP ประเมินตนเองมาก่อนตามการแปรผล จากนั้นให้ IT จังหวัด เป็นผู้พิจารณาให้คะแนนตามบริบทข้อเท็จจริงของแต่ละ CUP การแปลผล 1 = มีระบบการออกแบบระบบการเชื่อมโยงข้อมูลบริการระหว่างรพ.แม่ข่าย กับ PCU เครือข่าย เช่น มีโปรแกรม สำหรับส่งข้อมูลบริการ และมี แนวทางปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันในเครือข่ายเป็นลายลักษณ์อักษร 2 = มี 1 และมีการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ 3 = มี 2 และมีการทราบศักยภาพจุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อการพัฒนา รวมทั้งการ สะท้อนผลข้อมูลสู่หน่วยบริการ ปฐมภูมิในเครือข่าย 4 = มี 3 และมีการปรับปรุงหรือแผนพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง 5 = มี 4 และมีการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลการบริการในเครือข่ายมาวาง แผนการพัฒนาบริการอย่างน้อย 1 เรื่อง
ตัวชี้วัดที่ 3.4 หน่วยบริการประจำจัดระบบสนับสนุนบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ (ระบบยาและเวชภัณฑ์,IC,LAB,ระบบข้อมูล,ระบบการให้คำปรึกษา โรงพยาบาลแม่ข่าย จัดทำรายงาน CUP Profile ให้ สสจ.(กำหนดให้มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษรใช้ภายในเครือข่าย และในรายงาน CUP Profile ตามมาตรฐาน PCA กำหนด ส่ง สสจ . ภายในวันที่ 10 มีนาคม 2557 การแปลผล 1= มี 1 ข้อ,2= มี 2 ข้อ,3= มี 3 ข้อ ,4= มี 4 ข้อ , 5= มี 5 ข้อ
ตัวชี้วัด 4.1 ร้อยละคนพิการที่ขึ้นทะเบียน ท74 ได้รับการสำรวจความพิการโดยใช้รหัส ICF ค่าคะแนน 1=<75% 2=75-79.99% 3=80-84.99% 4=85-89.99% 5=>=90% =1
ตัวชี้วัดที่ 4.2 ร้อยละคลินิก ANC คุณภาพ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% จังหวัดเลย รพ. ประเมินผ่าน 11 โรง = 84.61 % =5
ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ ค่าคะแนน 1=<65% 2=65-69.99% 3=70-74.99% 4=75-79.99% 5=>=80% จังหวัดเลย รพ. ประเมินผ่าน 11 โรง = 84.61% =5
ตัวชี้วัดที่ 4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ค่าคะแนน 1=<25% 2=25-29.99% 3=30-34.99% 4=35-39.99% 5=>=40% ตัวชี้วัดที่ 4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน =1
ตัวชี้วัดที่ 4.6 ร้อยละผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ค่าคะแนน 1=<25% 2=25-29.99% 3=30.00-34.99% 4=35.00-39.99% 5=>=40% =1
ผลการดำเนินงานเครือข่ายบริการสุขภาพ ที่ 8
ด้านที่ 1 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ 1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ≥70 27.52 91.55 38.28 26.6 48.35 47.57 53.94 1.2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 34.63 88.03 38.63 42.47 44.69 58.05 52.58 1.3 ร้อยละของสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 0.2 58.47 81.07 78.76 47.78 1.4 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR 95 57.45 86.92 68.76 79.8 73.8 79.19 77.34 1.5 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ≥85 30.2 90.84 75.2 48.61 1.6 ร้อยละของประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ≥90 28 97.77 82.56 76.97 97.87 91.58 71.75
ด้านที่ 2 : คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ 2.1 สัดส่วน OP ปฐมภูมิ / รพ. ≥1.36 2 8.29 1.15 2.21 1.44 1.53 2.2 อัตราเข้าโรงพยาบาลจากโรคหืด 2.44 1.55 4.82 1.37 2.3 2.3 อัตราการเข้า รพ. จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของโรคเบาหวาน 0.6 1.94 0.42 3.35 2.58 3.11 2.4 อัตราการเข้า รพ.จากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นจากโรคความดันโลหิตสูง 0.1 0.39 0.06 0.32 0.99 0.5 0.61 2.5 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 13.61 48.51 42.83 19.65 53.96 36.14 27.54 2.6 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ < 140/90 mmHg เพิ่มขึ้น 50 51.98 22.11 50.76 47.04 21.49 48.03 59.03
ด้านที่ 3 : คุณภาพและผลงานการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ 3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ ≥70 3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน(ผ่านแบบไม่มีเงื่อนไข) 30 100 60.72 3.3 มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อมโยงโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 80 3.4 มีการจัดระบบสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 3 ระบบ
ด้านที่ 4 : คุณภาพและผลงานบริการที่จำเป็น (พื้นที่) ตัวชี้วัด เป้าหมาย บก นภ อด ลย นค สน นพ 4.1 ร้อยละคนพิการที่ได้รับการประเมินความพิการด้วยรหัส ICF 80 83.72 4.2 ร้อยละคลินิค ANC คุณภาพ 70 4.3 ร้อยละคลินิก WCC คุณภาพ >70 4.4 ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 30 13.27 71.89 45.59 31.64 4.5 ร้อยละผู้ปุวยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 77.72 4.6 ร้อยละ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ≥31 19.87 10.41 11.96
จบการนำเสนอ