Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย
การจัดระบบบริการ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0 – 2 ปี ใน รพ.สต.
Workshop แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยในวันนี้
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
รพสต ชุดบริการ.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ระบาดวิทยา Epidemiology.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ From Policy to Practice (P2P)
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
Public Health Nursing/Community Health Nursing
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health Damrong Thamrongloahaphan DDS, MS

Content Disease prevention Oral health promotion Epidemiology Health determinant Oral health promotion Ottawa charter Bangkok charter Individual & Interpersonal approach Public approach

Disease Prevention Health Promotion

Disease Prevention

Disease Illness Sickness

Sickness Patient Perspective Professional Perspective Illness Disease Illness are generally used as synonyms for disease. However, this term is occasionally used to refer specifically to the patient's personal experience of their disease. The term disease broadly refers to any condition that impairs normal function, and is therefore associated with dysfunction of normal homeostasis Patient Perspective Professional Perspective

Definition : Disease Prevention Focuses on prevention strategies the reduce the risk of disease , identified risk factors, or detect disease in its early , most treatable stages. Disease prevention covers measures not only to prevent the occurrence of disease, such as risk factor reduction, but also to arrest its progress and reduce its consequences once established.

The Three Levels of Prevention Tertiary Prevention to limit disability and improve functioning following disease or its complications, often through rehabilitation. Therefore, it is most applicable during the late clinical stage or the stage of diminished capacity. Secondary Prevention to reduce the number of existing cases in a population and, therefore, is most appropriately aimed those in the stage of presymptomatic disease or the early stage of clinical disease. Primary Prevention to reduce the frequency of new cases of disease occurring in a population and, thus is most applicable to persons who are in the stage of susceptibility.

1 2 3 ระยะแรก ระยะท้าย โรค พิการ ภาวะแทรกซ้อน

Strategies of Primary Prevention emphasize general health promotion, risk factor reduction, and other health protective measures include health education and health promotion programs healthier lifestyles and environmental health programs Specific examples of primary prevention measures immunization against communicable diseases Fluoride

Strategies of Secondary Prevention early detection swift treatment of disease

Strategies of Tertiary Prevention therapeutic and rehabilitative measure

(Non cavitated lesion) Sound tooth White spot lesion (Non cavitated lesion)

How to prevent dental caries RISK FACTOR EPIDEMIOLOGY

EPIDEMIOLOGY ระบาดวิทยา

Definition Distribution การกระจายของโรค Determinant ปัจจัยกำหนดสุขภาพ Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems. Distribution การกระจายของโรค Determinant ปัจจัยกำหนดสุขภาพ

Distribution Person Place Time ฟันผุในเด็กเกิดขึ้นในช่วงอายุไหน ผู้เลี้ยงดูเป็นใคร พ่อแม่ทำงานอะไร มีสภาพทางสังคมเศรษฐกิจเป็น อย่างไร Place ฟันผุเกิดขึ้นในพื้นที่ใด จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก Time ช่วงเวลาที่มีการอุบัติโรค

Determinant Host Agent ENV. ระบบภูมิคุ้มกัน น้ำลาย พฤติกรรม กายวิภาค Biofilm ENV. การเข้าถึงอาหารทำลายสุขภาพช่องปาก การเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพ การเข้าถึงบริการ ระบบครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม นโยบายสาธารณะ

Risk Risk is the probability that an event will occur. Epidemiology ; The probability that a particular outcome will occur following a particular exposure.

Risk factor The exposure has occurred before the outcome, or before the conditions are established that make the outcome likely. ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยง ที่จะทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหนเมื่อใด เกิดขึ้นได้อย่างไรและทำไม

Exposure Outcome Risk factor Disease

Caries Risk Factors

การเฝ้าระวัง (Surveillance)

การติดตาม สังเกตและพิจารณาอย่างต่อเนื่องถึงองค์ประกอบที่มีผลต่อการเกิดและการกระจายของโรค มีขั้นตอนประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลรวมทั้งการรายงานหรือแจ้งข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคจากข้อมูลที่ได้วิเคราะห์และประเมินผลดังกล่าวเพื่อดำเนินการต่อไปในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

ระบบการเฝ้าระวัง การรวบรวมข้อมูล (collection of Data) โดยการสังเกต ซักถาม ตรวจสอบและบันทึก การเรียบเรียง (Consolidation) เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมไว้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่ ให้เห็นลักษณะของตัวแปรต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแปลผล (Interpretation) เป็นการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลตามประเด็นต่างๆ เพื่อแสดงลักษณะของประชากรและลักษณะการกระจายของโรคตามตัวแปรต่างๆ การกระจายข่าวสาร (Dissemination) เป็นการรายงานผลไปให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์ต่อไป

การคัดกรอง (Screening)

a strategy used in a population to identify an unrecognised disease in individuals without signs or symptoms. This can include individuals with pre-symptomatic or unrecognised symptomatic disease.

Cavitated lesion Early lesion - P&F caries - White lesion Screening เด็กอายุ 0 - 3 ปี / ป.1ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก Limit progression ฝึกทักษะแปรงฟัน เคลือบฟลูออไรด์วานิช Sealant Cavitated lesion

ข้อสังเกตการเฝ้าระวัง และคัดกรอง เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ความตรง (Validity) Sensitivity Specificity ความเที่ยง (Reliability) นิยาม การปรับมาตรฐาน

Caries Risk Classification in Child & Adolescent

Low risk ไม่มีฟันผุในปีที่ผ่าน หลุมร่องฟันตื้น หรือได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน อนามัยช่องปากดี มีการใช้ฟลูออไรด์ที่เหมาะสม ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรเป็นประจำ

Moderate risk มีฟันผุ 1 ซี่ในปีที่ผ่าน หลุมร่องฟันลึก อนามัยช่องปากอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ได้รับฟลูออไรด์ไม่สม่ำเสมอ พบ White spot หรือ ฟันผุที่ซอกฟันเมื่อฉายภาพรังสี ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรไม่สม่ำเสมอ ได้รับรักษาโดยทันตกรรมจัดฟัน

High risk มีฟันผุ > 2 ซี่ในปีที่ผ่าน มีประวัติฟันผุที่ด้านผิวเรียบของฟัน Mutan streptococci count มีปริมาณเพิ่มขึ้น หลุมร่องฟันลึก ไม่ได้รับฟลูออไรด์ทั้ง Topical และ Systemic อนามัยช่องปากไม่ดี บริโภคน้ำตาลในความถี่สูง ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรไม่สม่ำเสมอ มีปริมาณการไหลของน้ำลายน้อย ดื่มขวดนม

Preventive Model DISEASE RISK INTERVENTION HOST ENV. SURVEILLANCE AGENT DISEASE HOST ENV. RISK SURVEILLANCE SCREENING