ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
Advertisements

ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย

คำอธิบาย ร้อยละความสำเร็จในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตาม คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าและ กระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย หมายถึง การวัด ความสำเร็จของหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือดำเนินงานตาม กระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2556

คำอธิบาย (ต่อ) กรมอนามัยดำเนินงานตามคู่มือการปฏิบัติงาน หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยให้ความร่วมมือกับ กรมอนามัยดำเนินงานตามคู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน ของกรมอนามัย ดังนี้ หน่วยงานมีการถ่ายทอด (วิธีการและช่องทางการ ถ่ายทอด เช่น ผ่านระบบอินทราเน็ต การจัดประชุม หรือ หนังสือเวียน เป็นต้น) ให้แก่บุคลากรในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ให้ปฏิบัติงานตามคู่มือการ ปฏิบัติงานเรื่อง กระบวนการที่สร้างคุณค่า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 หมายเลขเอกสาร: 2556-23-01 แก้ไขครั้งที่ 2 วันที่มีผล บังคับใช้: 25 มกราคม 2556 และกระบวนการสนับสนุนเพื่อ แสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นของกระบวนการ ครอบคลุมทุกกระบวนการตามคู่มือดังกล่าว

คำอธิบาย (ต่อ) กระบวนการที่สร้างคุณค่า จำนวน 7 กระบวนการ 1. กระบวนการศึกษาวิจัย 2. กระบวนการพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. กระบวนการสร้างกระแสและรณรงค์ เผยแพร่ องค์ความรู้และเทคโนโลยี 4. กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย 5. กระบวนการรับรองมาตรฐานการบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(HIA) 7. กระบวนการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

คำอธิบาย (ต่อ) กระบวนการสนับสนุน จำนวน 4 กระบวนการ 1. กระบวนการสนับสนุนให้เกิดนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง หรือข้อบังคับด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. กระบวนการฝึกอบรม 3. กระบวนการประชุม สัมมนา 4. กระบวนการนิเทศงาน

คำอธิบาย หน่วยงานมีการประเมินตนเอง (ผลสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนที่กำหนดอย่างน้อยร้อยละ 70 ของขั้นตอนทั้งหมดในแต่ละกระบวนการ) ตามแบบฟอร์มที่กรมอนามัยกำหนด ครอบคลุม ทุกกระบวนการที่สร้างคุณค่าตามคู่มือปฏิบัติงานฯ ข้างต้น และให้รายงานกรมฯ รอบ 9 และ 12 เดือน เพื่อกรมอนามัยวิเคราะห์และสรุปผล อันจะนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่องต่อไป หน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับกระบวนการใด จะต้องดำเนินการกระบวนการนั้นทุกกระบวนการ และให้หน่วยงานกำหนดค่าน้ำหนัก (Wi) ของแต่ละกระบวนการ โดยคำนึงถึงความสำคัญต่อภารกิจของหน่วยงาน โดยให้มี ค่าน้ำหนักรวม = 1.0 ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้

เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดย่อย(i)/ ประเด็นการประเมินผล น้ำ หนัก(Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนน ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 กระบวนการที่สร้างคุณค่า กระบวนการศึกษาวิจัย   65 70 75 SM1 (W1 x SM1) 2. กระบวนการพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม SM2 (W2 x SM2) 3. กระบวนการสร้างกระแสและรณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยี SM3 (W3 x SM3)

เกณฑ์การให้คะแนน 4. กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย 65 70 75 ตัวชี้วัดย่อย(i)/ ประเด็นการประเมินผล น้ำ หนัก(Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนน ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 4. กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย   65 70 75 SM4 (W4 x SM4) 5. กระบวนการรับรองมาตรฐานการบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม SM5 (W5 x SM5) 6. กระบวนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(HIA) SM6 (W6 x SM6) 7. กระบวนการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม SM7 (W7 x SM7)

เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดย่อย(i)/ ประเด็นการประเมินผล น้ำ หนัก(Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนน ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 กระบวนการสนับสนุน 1.กระบวนการสนับสนุนให้เกิดนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง หรือข้อบังคับด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม   65 70 75 SM8 (W8 x SM8) 2. กระบวนการฝึกอบรม SM9 (W9 x SM9) 3. กระบวนการประชุม สัมมนา SM10 (W10 x SM10) 4. กระบวนการนิเทศงาน SM11 (W11 x SM11) รวม 1.0  (Wi x SMi)

หลักฐานอ้างอิง วิธีการ/ช่องทางการถ่ายทอด พร้อมทะเบียนรายชื่อบุคลากรภายในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการและผู้ที่ได้รับ การถ่ายทอด สำรวจกิจกรรมที่จะดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน และกำหนดค่าน้ำหนักของกระบวนการที่จะดำเนินการ (รายงานภายใน 31 มีนาคม 2557 ในระบบ DOC รอบ 6 เดือน) ดำเนินงานตามคู่มือการปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน และประเมินตนเองของแต่ละกระบวนการ ตามแบบฟอร์ม (e-form) ดาว์นโหลดแบบฟอร์มได้ ที่เว็บไซต์ http://hp.anamai.moph.go.th หัวข้อ PMQA สำนักส่งเสริมสุขภาพ สรุปผลการประเมินตนเองเป็นภาพรวมระดับหน่วยงาน รอบ 9 และ 12 เดือน

Thank You