มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู 1. มาตรการด้านระบาดวิทยา ระบุพื้นที่ยุทธศาสตร์ รุนแรง (ซ้ำซาก) ระยะปานกลาง (รายใหม่) เสี่ยงสูง (เคยระบาดปี 43) เสี่ยงปกติ (ไม่พบ Case) Spot map ไปหน้าต่อไปกด Page Down
2. มาตรการด้านสุขศึกษา เชิงรุกและลึกแบบ interactive คุ้มละ 10 ครัวเรือน 2 ทาง สปอตวิทยุ ป้ายประชาสัมพันธ์ 3. มาตรการสอบสวนและควบคุมโรค รายใหม่ แจ้งพื้นที่และควบคุมโรคภายใน 24 ชม. รายเก่า ทำทุกมาตรการ 4. มาตรการรายงานโรค สอ.ใช้อาการแสดง รพช./รพท. ทางด่วน case R/O Lepto รายงาน 506 Lab confirm ศูนย์วิทย์ ไปหน้าต่อไปกด Page Down
5. มาตรการห้องปฏิบัติการ. สอ. Urine albumin. รพช. /รพท. Latex 2 ครั้ง 5. มาตรการห้องปฏิบัติการ สอ. Urine albumin รพช./รพท. Latex 2 ครั้ง ส่ง Confirmed ศูนย์วิทย์ฯ อุดร เพื่อ ยืนยันการรายงาน 506 6. มาตรการการรักษา กำหนดผู้รับผิดชอบทุกหน่วยงาน ทุกระดับ สอ.มี Doxy ในการรักษาเพื่อลดความรุนแรง จัดทำคู่มือการรักษาและมีแผ่นอาการแสดงติดโต๊ะตรวจ ในสถานีอนามัย ไปหน้าต่อไปกด Page Down
กลยุทธหลัก 3 ประการของกระทรวงสาธารณสุข ก. พัฒนาการวินิจฉัยโรค เน้น การเจาะเลือด 2 ครั้ง ห่างกัน 10 วัน (Paired serum) การตรวจด้วย Latex ถ้า serum แรก ให้ผลบวก รายงาน 506 ถ้าให้ผลลบ ให้รอผล serum ที่ 2 ทุก Case ที่ส่งตรวจ Lab จะต้องวินิจฉัยเป็น R/O Lepto ไปหน้าต่อไปกด Page Down
ข. มาตรการควบคุมป้องกันโรคเลปโตสไปโรซิสระดับ สอ. โดยดำเนินการให้ครบ 4 E 1. Eary detection เป็นการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกโดย อสม./กสค. 2. Eary diagnosis การวินิจฉัยโรคได้เร็วโดย จนท.สอ. มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 ประวัติลุยน้ำ แช่น้ำ หรือสัมผัสแหล่งน้ำ 2.2 ไข้สูงเฉียบพลัน (38-40 องศาเซนเซียส) 2.3 ปวดศรีษะอย่างรุนแรง 2.4 ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่น่อง ต้นขา หรือสะโพก ให้วินิจฉัย R/O Lepto และนำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจ ไปหน้าต่อไปกด Page Down
3. Eary Treatment ให้ จนท. สอ. ดำเนินการดังนี้. 3 2.3,2.4 ให้รีบนำส่งโรงพยาบาลทันที 3.2 ถ้ามีไข้สูงเฉียบพลันไม่เกิน 3 วัน ให้ Doxy (100) ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร ถ้าอาการไม่ดีขึ้นภายใน 2 วัน ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล 4. Eary control การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยง โดย 4.1 ให้สุขศึกษากับประชาชนเกี่ยวกับ 4.1.1 สิ่งแวดล้อม 4.1.2 พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค 4.1.3 พฤติกรรมการป้องกันโรค 4.2 เพิ่มมาตราการการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) ไปหน้าต่อไปกด Page Down
ค. ชุมชนร่วมมือควบคุมโรค ค. ชุมชนร่วมมือควบคุมโรค ใช้หลักการสร้างพลัง (Empowerment) โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. การกำจัดหนูโดยภูมิปัญญาชาวบ้าน 2. การสร้างความรู้ความเข้าใจในโรค 3. การกำหนดพื้นที่เลี้ยงสัตว์ 4. กำหนดมาตรการเคลื่อนย้ายสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์เศรษฐกิจ 5. การจัดตั้งกองทุนรองเท้า Lepto 6. การใช้รองเท้าป้องกันโรค 7. การกินอาหารสุกๆดิบๆ ไปหน้าต่อไปกด Page Down
อัตราป่วยโรค Leptospirosis ปี 2536-2544 จังหวัดหนองบัวลำภู เปรียบเทียบประเทศไทย , เขต 6 อัตราป่วย: 100,000 160 อัตราป่วยของประเทศ อัตราป่วยเขต 6 140 อัตราป่วย จ.นภ. 120 100 80 60 40 20 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 อัตราป่วยของประเทศ 0.17 0.17 0.24 0.6 3.84 3.62 9.28 21.86 1.79 อัตราป่วยเขต 6 0.27 0.06 0.29 0.87 9.29 14.61 26.07 51.05 4.58 อัตราป่วย จ.นภ. 25.6 14.59 33.12 138.63 14.75
อัตราป่วยโรค Leptospirosis ปี 2536-2544 จังหวัดหนองบัวลำภู อัตราป่วย: 100,000 อัตราป่วยตาย(ร้อยละ) 160 6 อัตราป่วย จ.นภ. 140 5 อัตราป่วยตาย จ.นภ. 120 4 100 80 3 60 2 40 1 20 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 อัตราป่วย จ.นภ. 25.6 14.59 33.12 138.83 14.75 อัตราป่วยตาย จ.นภ. 5.46 2.7 1.19 0.14 4.11