โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ” โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย 19 มิถุนายน 2551
ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน ไขมันในเลือดสูง การไม่ทานผักผลไม้ ไขมันในเลือดสูง การไม่ทานผักผลไม้ การไม่ออกกำลังกาย เป็น 5 ใน 10 อันดับแรกของปัจจัยเสี่ยง ที่ทำให้คนไทยเจ็บป่วย และเสียชีวิต ซึ่งมีต้นเหตุหลักคือ การบริโภค และการใช้แรงกาย :ผลสำรวจภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยงของคนไทย พ.ศ.2547
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา คนไทยอายุ 20 – 29 ปี มีภาวะโรคอ้วนเพิ่มจาก ร้อยละ 2.9 เป็นร้อยละ 21.7 (7.5 เท่า) คนไทยอายุ 40 – 49 ปี อ้วนเพิ่ม 1.7 เท่า ปัจจุบันเด็กประถมมีภาวะโภชนาการเกิน ร้อยละ 13.4 เพิ่มขึ้นทุกปี คนไทยอ้วนเป็นอันดับ 5 ใน 14 ประเทศแถบเอเชีย-แปซิฟิก คนไทยมีภาวะท้วมถึงอ้วนราว 10 ล้านคน อ้างอิง : กองโภชนาการ กรมอนามัย. รายงานการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 5 พ.ศ.2546
สถานการณ์การวัดเอว ปี 2550 เป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ผลดำเนินการได้ ร้อยละ 83.4 แหล่งข้อมูล: สำนักตรวจและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข (e-inspection ปี 2550 ไตรมาส 4)
39.5 รวม แหล่งข้อมูล: สำรวจการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย กองออกกำลังกาย กรมอนามัย
76.2 รวม แหล่งข้อมูล: สำรวจการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย กองออกกำลังกาย กรมอนามัย
อ้วนลงพุง กล้ามเนื้อ FFA ไขมันในช่องท้องมากเกิน ตับ ตับอ่อน ภาวะต้านอินซูลิน หลอดเลือดแดง หดตัวมาก คลายตัว FFA ตับ น้ำตาลออกมาก ไขมันออกมาก ตับอ่อน หลั่งอินซูลิน อ้วนลงพุง Intra-Abdominal Adiposity ไขมันในช่องท้องมากเกิน ศ.พญ.วรรณี นิธิยานันท์
ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกำลังกาย ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง Energy in (+) - พัฒนาองค์ความรู้ - สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน
ตัวชี้วัดองค์กรต้นแบบ 1. มีองค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ 300 แห่ง ที่สามารถดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ภายหลัง 6 เดือน ได้ดังนี้ 1.1 ร้อยละ 80 ของคนในองค์กรและชุมชนเข้าร่วม กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามโครงการฯ 1.2 มีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริม พฤติกรรมบริโภคอาหารและการใช้แรงกาย ที่ดีขึ้น
1.3 มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในองค์กร ในทิศทางที่พึงประสงค์ กระทั่งเกิดผลลัพธ์ ดังนี้ 1.3.1 ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ - ร้อยละ 80 ของผู้ที่มีรอบเอวเกิน สามารถลดรอบ เอวลงได้ - ร้อยละ 100 ของผู้ที่มีรอบเอวปกติ สามารถควบคุม รอบเอวอยู่ในเกณฑ์ปกติ 1.3.2 เด็กอายุไม่เกิน15 ปีที่เข้าร่วมโครงการฯ - ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีน้ำหนักเกิน สามารถลด น้ำหนักลงได้ - ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีภาวะปกติ สามารถควบคุม น้ำหนักให้อยู่ในระดับปกติ
3 อ. ถอดรหัสลับ...พิชิตอ้วน พิชิตพุง 1.อาหาร 2.ออกกำลังกาย 3.อารมณ์ ถอดรหัสลับ...พิชิตอ้วน พิชิตพุง 3 อ. 1.อาหาร - รู้ปริมาณอาหารที่กินเข้าไป - กินผัก ผลไม้ เพิ่มมากขึ้น - ลดหวาน มัน เค็ม 2.ออกกำลังกาย - เต้นแอโรบิค,เดินเร็ว,วิ่ง - ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ - เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 3.อารมณ์ - มุ่งมั่น มีเป้าหมาย - มีอารมณ์ร่วม - อารมณ์ไตร่ตรอง
Monitoring, evaluation and surveillance Schematic Model PROCESS OUTPUT OUTCOME National strategic leadership on diet and physical activity SUPPORTIVE ENVIRONMENT Behavior Change Supportive policies Programs Social Economic HEALTH Monitoring, evaluation and surveillance
M&E เป็น systemic process เพื่อวัตถุประสงค์ในเรื่อง progress of on going activities identify the constraints measure effectiveness and efficiency
Output indicators Outcome indicators จะไปที่ไหน และห่างจากเป้าหมายมากน้อยเพียงใด Process indicators “ How > What ” Output indicators Outcome indicators ( short term , intermediate , long term )
STEP in M&E 1. กำหนด M&E ไว้ในแผน, มีงบประมาณ, มี multisectoral team ดำเนินงาน 2. ตรวจสอบข้อมูลว่ามีอะไรอยู่บ้าง 3. กำหนด indicator ที่เหมาะสม 4. กำหนดวิธีการวัด ต้องมี baseline data 5. เก็บข้อมูลที่ตามช่วงเวลาที่กำหนด
สวัสดีครับ