การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การซักซ้อมแผนสื่อสารความเสี่ยงเพื่อตอบโต้ภาวะ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
กลุ่มเป้าหมาย มี 2 กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายที่ สปสช จะคืนวัคซีนและงบชดเชยให้ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายกระทรวง คิดผลงานของกระทรวง ( ร้อยละ 90 ของวัคซีน.
แนวทางการดำเนินงาน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตาม ฤดูกาล 2554 จังหวัดอุดรธานี
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
MOPH operation center MOPH operation center 20 May 2009.
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ พ.ญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์

ประเด็นสำคัญ ตรวจพบเร็วที่สุด และควบคุมให้เร็วที่สุด ทำความเข้าใจกับสังคม/ประชาชน/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เตรียมพร้อมยาต้านไวรัส ให้มีใช้ทันทีและผลิตต่อเนื่องได้ เตรียมพร้อมในการวิจัยและผลิตวัคซีนในประเทศไทย เตรียมพร้อมในเรื่องสถานพยาบาลที่จะรองรับผู้ป่วย เตรียมการในเรื่องกลไกการจัดการทั้งในช่วงก่อน/ระหว่าง/หลังการระบาด

การระบาดแพร่จากคนสู่คนในวงจำกัด ค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มแรกได้รวดเร็วและแม่นยำ สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับมีและใช้เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นอย่างเพียงพอและถูกต้อง พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลผู้ป่วย ในระยะเริ่มแรกได้ถูกต้อง

การระบาดแพร่จากคนสู่คนในวงจำกัด (ต่อ) จัดทำแผนปฏิบัติการรับผู้ป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาลตามความเหมาะสมของแต่ละโรงพยาบาล รวมถึงห้องแยก จัดสร้างหรือปรับปรุงห้องแยกในหอผู้ป่วยใน และอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วย

การระบาดแพร่จากคนสู่คนในวงกว้าง เตรียมความพร้อมของระบบบริการให้สามารถรองรับผู้ป่วยจำนวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดเตรียมหอผู้ป่วย (Cohort Ward) เช่น กรณี ไข้หวัดใหญ่ระบาด ปรับปรุงตึกผู้ป่วยนอกเพื่อรับผู้ป่วยจำนวนมาก โดยเฉพาะไข้หวัดใหญ่ จัดเตรียมโรงพยาบาลสนาม ถ้ามีความจำเป็น ปฏิบัติงานส่งต่อตามแนวทางที่แนะนำ โดยเป็นการป้องกันการติดเชื้อระหว่างการส่งต่อและ ความปลอดภัยของผู้ป่วย

ป้องกันการติดเชื้อและการป่วยด้วย ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ แก่บุคลากร จัดระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร จัดการอุปกรณ์ป้องกันร่างกายและแนะนำการใช้อย่างเคร่งครัด ให้ยารักษา แก่บุคลากรที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อ ตามแนวทางที่แนะนำโดยจัดลำดับความสำคัญอย่างเหมาะสม ถ้ามีวัคซีน เช่น ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ระบาดใหญ่ จัดลำดับบุคลากรเป้าหมายที่ควรรับวัคซีนและจัดบริการให้วัคซีนอย่างเหมาะสม

มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” 1. “รู้เร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- lab. พร้อมรับมือ 2. “รักษา - ป้องกันเร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- โรงพยาบาล/ศูนย์ พร้อมรับมือ :- ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน 3. “ควบคุมโรคเร็ว” :- Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป

แนวคิดการเตรียมพร้อม ก่อนระบาดใหญ่ เตรียมพร้อมไว้ ไม่ประมาท แต่ละ จังหวัด มีผู้รู้ดี สอนได้ ประสานได้ จัดการได้ จัดทำแผนเหมาะสมกับองค์กร (แผน วิธีปฏิบัติ) เตรียมตัวได้ตามแผน (สอน/แนะนำ เตรียมข้าวของ ระบบงาน ข้อมูล) ซักซ้อมแผนเป็นระยะ เมื่อระบาดใหญ่ ไม่ตกใจ ทำได้ตามแผน คนที่ไม่จำเป็นไม่ต้องมาที่ทำงาน ให้ทำงานที่บ้าน ส่งงานทางโทรคมนาคม ให้ผู้ป่วยพักงาน จัดหาคนทำงานแทน ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และครอบครัวที่ประสบภัย ได้อย่างเหมาะสม คงการ สื่อสาร บริการแก่ลูกค้า ตามสถานการณ์ หลังระบาดใหญ่ ฟื้นตัวไว ไม่อับจน

พญ. นฤมล สวรรค์ปํญญาเลิศ

www.cdc.gov/h1n1