องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความหมายของการวางแผน
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การบริหารกลุ่มและทีม
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
KM = Knowledge Management
ความหมายและหลักการของการจัดการ
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การและการบริหาร Organization & Management
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การจูงใจ (Motivation)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
Participation : Road to Success
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เราเป็นผู้นำ.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ความหมายของการบริการ
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ทุกองค์การต้องมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของตนเอง 2) ทุกองค์การต้องมีคนร่วมกันทํางาน 3) องค์การต้องมีการจัดโครงสร้างงานแบ่งงานหน้าที่รับผิดชอบของ คนในองค์การ

โครงการ หมายถึง เค้าโครงหรือภาพรวมของกิจการที่กำหนดไว้ซึ่งโดยส่วนใหญ่เรามักจะใช้คำว่าโปรเจกต์ (Project) ซึ่งให้ความหมายที่ทำให้เข้าใจได้ครอบคุลมมากกว่า โครงการที่ดีจะกำหนดแผนการดำเนินการไว้ภายในหนึ่งปี ห้าปี หรือ สิบปี และในแต่ละปีอาจมีหลาย ๆ โครงการหรือโครงการเดียว ตามแต่ศักยภาพขององค์กรนั้น ๆ

กลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการ ประสานงานเป็นหลักการชัดเจนแน่ชัด โดยวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผล สำเร็จ ตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อม ในการประกอบกิจกรรมขององค์กร ที่นิยมเรียกกันว่า 6M’s อันประกอบด้วย 1. คน (Man) 2. เงิน (Money) 3. วัตถุดิบ (Material) 4. เครื่องจักร (Machine) 5. วิธีการ (Method) 6. การบริหาร (Management)

การบริหาร คือกลุ่มของกิจกรรม ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การสั่งการ (Leading/Directing) การควบคุม (Controlling) ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยากรขององค์กร (6 M’s) เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และด้วยจุดมุ่งหมายสำคัญ ในการบรรลุความสำเร็จ ตามเป้าหมายขององค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลครบถ้วน

การจัดการ (Management) จะเน้นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) ซึ่งนิยมใช้ในการจัดการธุรกิจ (Business management) ส่วนคำว่า “หัวหน้า” จะหมายถึงบุคคลในองค์กร ซึ่งทำหน้าที่รับผิดชอบต่อกิจกรรมในการบริหาร ทรัพยากรและกิจการงานอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ขององค์กร

การบริหารจัดการ (Management) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ (A set of functions) ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กร การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาด รวดเร็ว และคุ้มค่า (Cost-effective) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้น หมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนั้นผลสำเร็จของการบริหารจัดการจึงจำเป็นต้องมีทั้งประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ควบคู่กัน

โดยภาพรวมแล้วสิ่งสำคัญของโครงการเราอาจพิจารณาจากสิ่งต่อไปนี้ - มีการเริ่มต้นและสิ้นสุด - มีวงจรการดำเนินการ - มีการจัดตั้งงบประมาณ - มีการใช้ทรัพยากรในการทำงาน - มีการกำหนดหน้าที่ - มีการกำหนดทีมทำงาน

ผู้ที่จะมีหน้าที่ในการบริหารโครงการนั้น จะต้องมีความสามารถเฉพาะตัวหลายประการ เช่น - มีความสามารถในการเป็นผู้นำ           - มีความสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า           - มีความสามารถในการคัดสรรโครงการ           - มีความคล่องแคล่วในการทำงาน           - มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์           - มีความสามารถในด้านการเจรจาต่อรองและจูงใจ           - มีความเข้าใจในสภาพแวดล้อมของแต่ละโครงการ            - มีความสามารถในด้านการตรวจสอบและควบคุม           - มีความสามารถในการบริหารเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป            - มีความสามารถทำให้ลูกค้าพึงพอใจ

การประเมินระบบ : ในระยะเวลาที่มีการดำเนินการตามแผนงานนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการประเมินระบบเพื่อจะได้ทราบถึงการตอบรับหรือ ปัญหาที่เกิดจากโครงการ ควรมีกำหนดระยะการประเมินที่ต่อเนื่องกันไป เช่น ทุกเดือน ทุกสัปดาห์ ตลอดช่วงของการดำเนินงาน

คุณธรรมที่มีคุณค่าอันแท้จริงเริ่มจาก ภายใน แล้วปรากฏออกมาเป็นที่ประจักษ์ในรูปของพฤติกรรมต่างๆ ถ้าคุณธรรมเป็นเพียงรูปแบบที่พยายามแสดงออกจากภายนอกที่เราเรียก ว่าสภาพธรรมภายนอก ไม่ว่าจะดูงดงามเพียงใดมันก็ไม่มีคุณค่า เป็นเหมือนหน้ากาก เปรียบเหมือนทองเก๊ ดังคำพังเพยที่ว่าไม่ใช่ทุกสิ่งที่มีสีเหลืองจะเป็นทองเสมอไป