การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
NCD and Aging to CCVD System Manager
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
หน้าที่กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
ตารางการจัดสรรงบกองทุน พัฒนาคุณภาพ สปสช. เขตพื้นที่ ( ราชบุรี ) ปีงบประมาณ 2551.
กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก เนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ “รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ”
ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
นวัตกรรมที่ได้รับการคัดเลือกให้จัดนิทรรศการ
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
โครงการร่วมผลิตเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) เพื่อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.
วันที่ ๒ กันยายน ๕๖ ถึง ๗ กุมภาพันธ์ ๕๗. อำเภอจำนวน นักศึกษา เมือง 6 เขาย้อย 4 หนองหญ้าปล้อง 4 ชะอำ 5 ท่ายาง 6 บ้านลาด 6 บ้านแหลม 5 แก่งกระจาน 4 รวม 40.
งานนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
แผนเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการดำเนินงาน Pap Smear (1 ต. ค.52 – 31 ก. ค.57) อำเภอเป้าหมายผลงานอัตรา ( ร้อย ละ ) เมือง 29,050 21, เขาย้อย 8,9556, หนองหญ้า ปล้อง 3,2872,
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงแนวทางการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข รุ่นที่ 2 ครั้งที่ 1

การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง - ติดตามต่อเนื่อง – เพิ่มโรคเบาหวาน อสม.รุ่น 2 - อสมช. ด้านโรคมะเร็ง - ปี 2551 เน้นโรคมะเร็งเต้านม - การให้ความรู้เพื่อตรวจอย่างถูกต้อง และสม่ำเสมอในผู้หญิงอายุ > 35 ปี

มะเร็งเต้านม 2551 เครื่องชี้วัด - ผู้หญิงไทยอายุ 35 ปีขึ้นไปตรวจเต้านมด้วย ตนเองอย่างถูกต้องทุกเดือนเพิ่มขึ้น สัปดาห์รณรงค์ - 25 – 30 พฤศจิกายน 2550

กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ดำเนินการ ทุกอำเภอดำเนินการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.รุ่นที่ 2 ในพื้นที่ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน เฉลี่ยหมู่บ้านละ 3 คน เป้าหมายของจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 698 หมู่บ้าน 36 ชุมชน รวมทั้งสิ้น 2,202 คน

กลวิธีและกิจกรรม หลักสูตรการอบรม อสม.รุ่นที่ 1 (อบรม 2 วัน 1 คืน) หลักสูตรการอบรม อสม.รุ่นที่ 1 (อบรม 2 วัน 1 คืน) เพิ่มเติม เรื่อง การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม จัดกิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังด้านสุขภาพได้แก่ การรณรงค์ตรวจเต้านมด้วยตนเองในสตรี (กลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป) รายงานผลการจัดกิจกรรม

ระยะเวลาในการดำเนินการ การอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม – 16 พฤศจิกายน 2550 จังหวัดเพชรบุรี จัดทำแผนการอบรม ระหว่างวันที่ 5 – 16 พฤศจิกายน 2550 (สามารถปรับเปลี่ยนได้) การรณรงค์ตรวจเต้านมด้วยตนเองพร้อมกันทั่วประเทศ โดยจัดสัปดาห์มหกรรมรณรงค์ “ตรวจเต้านมด้วยตนเอง มะเร็งไม่ถามหา” ในระหว่างวันที่ 25 – 30 พฤศจิกายน 2550 มีพิธีเปิดมหกรรมพร้อมกันทั่วประเทศ ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2550

งบประมาณ กรมสุขภาพจิต สนับสนุนงบประมาณให้อสม. นอกเขตเทศบาล จำนวนเงิน 628,200 บาท สสจ.เพชรบุรี สนับสนุนงบประมาณ UC (PP - com) ให้อสม. ในเขตเทศบาล จำนวนเงิน 32,400 บาท รวมทั้งสิ้น 660,600 บาท โดยจัดสรรเฉลี่ยคนละ 300 บาท เป็น - ค่าพาหนะเดินทาง / อาหาร อสม. 250 บาท / คน - ค่าบริหารจัดการ 50 บาท / คน

สิ่งสนับสนุน ประกาศนียบัตร สำหรับ อสม. (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดพิมพ์ ส่งให้ 15 ตุลาคม 2550) โมเดลเต้านม สำหรับครู ก. (กรมการแพทย์) ภาพพลิก – สื่อการสอน สำหรับ ครู ก. ครู ข. (กรมอนามัย) แผ่นพับ สื่อการสอน สำหรับ อสม. (กรมอนามัย)

การจัดทำโครงการและเบิกจ่ายงบประมาณ

รูปแบบการจัดอบรมของอำเภอ

คณะกรรมการที่ปรึกษา ติดตามและประเมินผล การอบรม/จัดกิจกรรมระดับพื้นที่

1.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานระบาด 1.3 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานข้อมูล นายแพทย์ 9 ด้านเวชกรรมป้องกัน รับผิดชอบ 1 พื้นที่อำเภอเมืองเพชรบุรี ประกอบด้วย 1.1 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์ 1.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานระบาด 1.3 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานข้อมูล 2 พื้นที่อำเภอท่ายาง ประกอบด้วย 2.1 หัวหน้ากลุ่มงาน/เจ้าหน้าที่งานประกัน 2.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารทั่วไป 3 พื้นที่อำเภอหนองหญ้าปล้อง ประกอบด้วย 3.3 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ 3.4 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์

นักวิชาการสาธารณสุข 8 ด้านส่งเสริมพัฒนา รับผิดชอบ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ด้านส่งเสริมพัฒนา รับผิดชอบ 4 พื้นที่อำเภอเขาย้อย ประกอบด้วย 4.1 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานพัฒนาบุคลากร 4.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานพัฒนาคุณภาพ 5 พื้นที่อำเภอบ้านแหลม ประกอบด้วย 5.1 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานสุขศึกษา/สารนิเทศ 5.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานรักษาพยาบาล 6 พื้นที่อำเภอบ้านลาด ประกอบด้วย 6.1หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานส่งเสริมสุขภาพ

เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข 8 รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข 8 รับผิดชอบ 7 พื้นที่อำเภอชะอำ ประกอบด้วย 7.1 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานควบคุมโรคติดต่อ 7.2 หัวหน้างาน/เจ้าหน้าที่งานทันตสาธารณสุข 8 พื้นที่อำเภอแก่งกระจาน ประกอบด้วย 8.1 หัวหน้ากลุ่มงาน/เจ้าหน้าที่กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

กำหนดแผนการอบรม อสม.

คัดเลือกอำเภอจัดพิธีเปิดมหกรรมฯ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2550