รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

“Weather is one of the most important factor that influence
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
การเคลื่อนที่.
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
แผ่นดินไหว.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Ultrasonic sensor.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
พลังงานลม.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ตราด.
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy) แสงอาทิตย์สู่ลม

แสงอาทิตย์สู่ลม ภูมิใจเสนอโดย นาย โกศาสตร์ ทวิชศรี 48300007

แสงอาทิตย์สู่ลม บทนำ (พลังงานลมเกิดขึ้นได้อย่างไร) 1. แสงอาทิตย์สู่ลมมาจากไหน 2. การวัดลม 3. ประเภทของลมแบ่งตามระดับความสูง 4. การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ 5. ลมกรด (Jet Stream) 6. ลมมรสุม (Monsoon) 7. ลมท้องถิ่น 8. ความเร็วลมในประเทศไทย

1. แสงอาทิตย์สู่ลมมาจากไหน 30m SRTM Reflectance Image The WMS Global Mosaic, a High Resolution, Global Coverage, Landsat 7 mosaic.

แสงอาทิตย์สู่ลม

แสงอาทิตย์สู่ลม ●2 การวัดลม มี 2 วิธี 2.1 การวัดทิศทางลม 2.2 การวัดความเร็วลม

แสงอาทิตย์สู่ลม 2.1 การวัดทิศทางลม รูป ทิศลมเรียกเป็นองศาจากทิศจริง

แสงอาทิตย์สู่ลม 2.2 การวัดความเร็วลม P=kV2 คือ การวัดการเคลื่อนที่ของอากาศ ที่ทำให้เกิดแรงหรือ ความกดที่ผ่านจุดที่กำหนดให้บนพื้นผิวโลก และแรงหรือ ความกดเป็นสัดส่วนกับกำลังสองของความเร็วลม P=kV2 P คือ ความกดที่เกิดจากการกระทำของลม V คือ ความเร็วลม k คือ ค่าคงที่ของหน่วยที่ใช้

แสงอาทิตย์สู่ลม 3 ประเภทของลมแบ่งตามระดับความสูง 3.1 ลมชั้นบน 3.1.1 ลมยีโอสโทรฟิก (Geostrophic Wind) 3.1.2 ลมเกรเดียนด์ (Gradient Wind) 3.2 ลมผิวพื้น (Surface Winds)

แสงอาทิตย์สู่ลม 3.1.1 ลมยีโอสโทรฟิก (Geostrophic Wind) รูป ลมยีโอสโทรฟิกพัดขนานกับไอโซบาร์ ในซีกโลกเหนือความกดอากาศต่ำ จะอยู่ ทางซ้ายของลม ส่วนในซีกโลกใต้ความกดอากาศต่ำ จะอยู่ทางขวาของลมกับความเร็ว

แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ทิศทางของลมยีโอสโทรฟิก ในซีกโลกเหนือ PH= แรงความชันความกดอากาศในแนวนอน C = แรงคอริออลิส V = ลมยีโอสโทรฟิก รูป ทิศทางของลมยีโอสโทรฟิก ในซีกโลกเหนือ ที่ไม่มีแรงฝืดในระดับความสูงจากพื้นดิน 3 กิโลเมตร

รูป ความสมดุลของแรง 3 แรง รอบๆ แสงอาทิตย์สู่ลม 3.1.2 ลมเกรเดียนด์ (Gradient Wind) PH=แรงความชันความกดอากาศในแนวนอน C =แรงคอริออลิส CF=แรงหนีศูนย์กลาง W =ทิศทางลม Ph + CF = C Ph = C + CF (ข) บริเวณความกดอากาศสูง ในซีกโลกเหนือ (ก) บริเวณความกดอากาศต่ำ รูป ความสมดุลของแรง 3 แรง รอบๆ

แสงอาทิตย์สู่ลม 3.2 ลมผิวพื้น (Surface Winds) คือ ลมที่พัดจากบริเวณผิวพื้น ไปยังความสูงประมาณ 1 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน รูป ในระดับความสูง 1 กิโลเมตรแรกจากผิวพื้นที่มีแรงฝืด ลมผิวพื้นพัดข้ามไอโซบาร์ และทำมุมกับไอโซบาร์

แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ลมผิวพื้น

รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 5000 ฟุต แสงอาทิตย์สู่ลม รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 5000 ฟุต รูป แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 600 เมตร

แสงอาทิตย์สู่ลม 4. การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ รูป การหมุนเวียนทั่วไป ของอากาศแบบจำลองวงจรเดี่ยว

รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร

แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร รูป ก การหมุนเวียนทั่วไปของอากาศแบบจำลอง 3 วงจร รูป ข ลมผิวพื้นและระบบความกดอากาศ

แสงอาทิตย์สู่ลม 5. ลมกรด (Jet Stream) เป็นกระแสลมแรงอยู่ในเขตโทรโพพอส (แนวแบ่งเขตระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์กับชั้นสเตรโตสเฟียร์) 5.1 ลมกรดบริเวณโซนร้อน (Subtropical Jet) เกิดขึ้นในละติจูด ประมาณ 30 องศาเหนือและใต้ 5.2 ลมกรดบริเวณขั้วโลก (Polar Jet) เกิดขึ้นในละติจูด ประมาณ 60 องศาเหนือและใต้ ใกล้กับ แนวปะทะอากาศขั้วโลก

แสงอาทิตย์สู่ลม รูป ตำแหน่งที่ตั้งโดยเฉลี่ยของลมกรดในเขตโทรโพพอส

รูป (ก) ลมมรสุมฤดูหนาว (ข) ลมมรสุมฤดูร้อน แสงอาทิตย์สู่ลม 6. ลมมรสุม (Monsoon) หมายถึง ลมที่พัดเปลี่ยนทิศทางกลับการเปลี่ยนฤดู คือ ฤดูร้อนจะพัดในทิศทางหนึ่ง และจะพัดเปลี่ยนทิศทางในทางตรงกันข้ามในฤดูหนาว รูป (ก) ลมมรสุมฤดูหนาว (ข) ลมมรสุมฤดูร้อน

แสงอาทิตย์สู่ลม 7. ลมท้องถิ่น ●7.1 ลมทะเลและบก เป็นลมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่น เนื่องจากอิทธิพลของภูมิประเทศและความเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ มี 7 ชนิด ●7.1 ลมทะเลและบก 7.1.1 ลมทะเล (Sea Breeze) 7.1.2 ลมบก (Land Breeze)

แสงอาทิตย์สู่ลม 7.2 ลมภูเขาและลมหุบเขา รูป ลมหุบเขา และลมภูเขา (ก) ลมหุบเขา (ข) ลมภูเขา รูป ลมหุบเขา และลมภูเขา

แสงอาทิตย์สู่ลม 7.3 ลมพัดลงลาดเขา (Katabatic Wind) รูป ลมพัดลงลาดเขา

แสงอาทิตย์สู่ลม 7.4 ลมชีนุก (Chinook) รูป ลมชีนุก

แสงอาทิตย์สู่ลม 7.5 ลมทะเลทราย (Desert Winds) รูป ลมท้องถิ่นที่เกิดขึ้นทางเหนือของทวีปแอฟริกา

แสงอาทิตย์สู่ลม 7.6 ลมตะเภาและลมว่าว เป็นลมท้องถิ่นในประเทศไทย โดยลมตะเภาเป็นที่พัดจากทิศใต้ไปยังทิศเหนือคือ พัดจากอ่าวไทยเข้าสู่ภาคกลางตอนล่าง พัดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน

แสงอาทิตย์สู่ลม 8. ความเร็วลมในประเทศไทย ความเร็วลมในประเทศไทยโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง-ต่ำ คือต่ำกว่า 4 เมตร/วินาที แผนที่ลมรายปี

พลังงานลม (Wind Energy) ?

จบบริบูรณ์