33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

INTRODUCTION TO HEALTH ECONOMICS
การประกันคุณภาพ การศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
5.
ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
สมาชิกในกลุ่ม การพัฒนาหรือการดำเนินการ
( Organization Behaviors )
Management Information Systems
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
หลักการและแนวปฏิบัติ รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
Knowledge Management (KM)
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การวิจัยธุรกิจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
กระบวนการวิจัย Process of Research
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ในการบริหารนโยบายสาธารณะ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

วิวัฒนาการของการศึกษานโยบายสาธารณะ 1. ความรู้เกี่ยวกับประเด็นนโยบาย (policy-issue knowledge) 2. ความรู้เกี่ยวกับกำหนดนโยบาย (policy-making knowledge) นโยบายศาสตร์ (Policy Science) แบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภท มาจากการแสวงหาปรัชญาใหม่ สำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ (New Public Administration) จุดเริ่มต้นของ การศึกษานโยบายสาธารณะ 1. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งเรียกว่า นโยบายศาสตร์ (policy science) 2. เป็นความรู้สหวิทยาการ 3. เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง (fact) 4. เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับค่านิยม (value) ข้อสรุปของ การศึกษานโยบายสาธารณะ

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การศึกษานโยบายสาธารณะ 1. กิจกรรมหรือการกระทำของรัฐบาล 2. การตัดสินใจของรัฐบาลว่าทำหรือไม่ทำ 3. แนวทางหรือมรรควิธี (means) ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1. เชิงมหภาค (Macro) 2. เชิงจุลภาค (Micro)

แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ ตามแนวทางรัฐศาสตร์ แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ การศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทาง รัฐประศาสนศาสตร์

การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ (Policy Analysis) หมายถึง การจำแนกแยกแยะประเด็นสำคัญโดยการนำเอาศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ องค์ความรู้ที่ใช้ใน การวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะ 1. องค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ 2. องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ 1. ตัวแบบสถาบัน(institutional model) 2. ตัวแบบกระบวนการ(process model) 3. ตัวแบบเหตุผล(rational model) 4. ตัวแบบส่วนเพิ่ม (incremental model) 5. ตัวแบบกลุ่ม(group model) ตัวแบบของ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ (Thomas R. Dye)

ตัวแบบการบริหารนโยบายสาธารณะ 1. กระบวนการ (process) 2. กิจกรรม (activity) 3. ผู้มีส่วนร่วม (participants) Thomas R. Dye 1. การกำหนดนโยบาย 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 3. การประเมินผลนโยบาย กระบวนการนโยบาย

วิธีการศึกษา กรณีศึกษาการบริหารนโยบายสาธารณะ 1. ที่มาของนโยบาย 2. เนื้อหาสาระของนโยบาย 3. การวิเคราะห์นโยบาย 3.1 การกำหนดนโยบาย 3.2 การนำนโยบายไปปฏิบัติ 3.3 การประเมินผลนโยบาย วิธีการศึกษากรณีศึกษา การบริหารนโยบายสาธารณะ