33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ ในการบริหารนโยบายสาธารณะ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1
วิวัฒนาการของการศึกษานโยบายสาธารณะ 1. ความรู้เกี่ยวกับประเด็นนโยบาย (policy-issue knowledge) 2. ความรู้เกี่ยวกับกำหนดนโยบาย (policy-making knowledge) นโยบายศาสตร์ (Policy Science) แบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภท มาจากการแสวงหาปรัชญาใหม่ สำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ (New Public Administration) จุดเริ่มต้นของ การศึกษานโยบายสาธารณะ 1. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งเรียกว่า นโยบายศาสตร์ (policy science) 2. เป็นความรู้สหวิทยาการ 3. เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง (fact) 4. เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับค่านิยม (value) ข้อสรุปของ การศึกษานโยบายสาธารณะ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การศึกษานโยบายสาธารณะ 1. กิจกรรมหรือการกระทำของรัฐบาล 2. การตัดสินใจของรัฐบาลว่าทำหรือไม่ทำ 3. แนวทางหรือมรรควิธี (means) ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1. เชิงมหภาค (Macro) 2. เชิงจุลภาค (Micro)
แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ ตามแนวทางรัฐศาสตร์ แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ การศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทาง รัฐประศาสนศาสตร์
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ (Policy Analysis) หมายถึง การจำแนกแยกแยะประเด็นสำคัญโดยการนำเอาศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ องค์ความรู้ที่ใช้ใน การวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะ 1. องค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ 2. องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ 1. ตัวแบบสถาบัน(institutional model) 2. ตัวแบบกระบวนการ(process model) 3. ตัวแบบเหตุผล(rational model) 4. ตัวแบบส่วนเพิ่ม (incremental model) 5. ตัวแบบกลุ่ม(group model) ตัวแบบของ การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ (Thomas R. Dye)
ตัวแบบการบริหารนโยบายสาธารณะ 1. กระบวนการ (process) 2. กิจกรรม (activity) 3. ผู้มีส่วนร่วม (participants) Thomas R. Dye 1. การกำหนดนโยบาย 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ 3. การประเมินผลนโยบาย กระบวนการนโยบาย
วิธีการศึกษา กรณีศึกษาการบริหารนโยบายสาธารณะ 1. ที่มาของนโยบาย 2. เนื้อหาสาระของนโยบาย 3. การวิเคราะห์นโยบาย 3.1 การกำหนดนโยบาย 3.2 การนำนโยบายไปปฏิบัติ 3.3 การประเมินผลนโยบาย วิธีการศึกษากรณีศึกษา การบริหารนโยบายสาธารณะ