33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุปวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
การวางแผนกลยุทธ์.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
องค์การและการบริหาร Organization & Management
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
นโยบายจ่ายค่าตอบแทนพิเศษระบบใหม่ Pay for Performance ( P4 P )
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
การบริหารองค์กรและบุคลากร
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
หลักการจัดการ Principle of Management
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

ความหมายของทฤษฎี ความหมายกว้าง : ทฤษฎี หมายถึง กรอบความคิดเกี่ยวกับการจัดระบบองค์ความรู้ในลักษณะของตัวแบบ (model) ความหมายเฉพาะเจาะจง : ทฤษฎี หมายถึง กลุ่มข้อทฤษฎีที่สัมพันธ์กันที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในรูปของความสัมพันธ์เชิง สาเหตุและผล ทฤษฎี มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ด้าน ได้แก่ - กรอบอ้างอิง - ฐานคติ - แนวคิด - ข้อทฤษฎี

ประเภทของทฤษฎี 1. เกณฑ์ทิศทางการพัฒนา องค์ความรู้ 1.1 ทฤษฎีอุปมาน (Deductive Theory) 1.2 ทฤษฎีอนุมาน (Inductive Theory) 2. เกณฑ์จุดมุ่งหมายของทฤษฎี 2.1 ทฤษฎีปทัสถาน (Normative Theory) 2.2 ทฤษฎีพรรณนา (Descriptive Theory) 3. เกณฑ์ความซับซ้อนของความสัมพันธ์ 3.1 ทฤษฎีระดับทั่วไป (General Level Theory) 3.2 ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Level Theory) 3.3 ทฤษฎีระดับล่าง (Low Level Theory) 4. เกณฑ์ขนาดของแนวคิด 4.1 ทฤษฎีมหภาค (Macroscopic Theory) 4.2 ทฤษฎีจุลภาค (Microscopic Theory) 5. เกณฑ์ความแน่นอนของการพยากรณ์ 5.1 ทฤษฎีดีเทอมินิสติค (Deterministic Theory) 5.2 ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probabilistic Theory) 6. เกณฑ์สัณฐานของทฤษฎี 6.1 ทฤษฎีลำดับชั้น (Hierarchical Theory) 6.2 ทฤษฎีกระบวนการสาเหตุและผล (Causal Process Theory)

เกณฑ์ 5 ประการ การประเมินทฤษฎี 1. เกณฑ์ความประหยัด 2. เกณฑ์ความสอดคล้องภายใน 3. เกณฑ์ความกว้างขวางครอบคลุม 4. เกณฑ์ความสามารถทดสอบ 5. เกณฑ์คุณค่าในทางปฏิบัติ

ประเภทของ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ (Steven Bailey) 1. ทฤษฎีพรรณนา-อธิบาย (Descriptive Explanatory Theory) 2. ทฤษฎีปทัสถาน (Normative Theory) 3. ทฤษฎีฐานคติ (Assumptive Theory) 4. ทฤษฎีเครื่องมือ (Instrumental Theory)

กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคบุกเบิก 1. Woodrow Wilson เขียนบทความเรื่อง “The Study of Administration) ในปี 1887 เสนอการเมืองแยกจากการบริหาร ถือได้ว่าจุดกำเนิดของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 2. Max Weber ทฤษฎีระบบราชการดั้งเดิม (Classic Bureaucratic Theory)

กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคโครงสร้างหน้าที่ 1. Frederick Taylor หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 2. Henry Fayol หลักการบริหาร POCCC - Planning, Organizing, Commanding, Coordinating, Controlling 3. Gulick กระบวนการบริหาร POSDCORB - Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, Budgeting สรุป จุดเน้นของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคโครงสร้างหน้าที่ มุ่งเน้นการทำงานที่ก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์การ

กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคพฤติกรรมนิยม 1. Elton Mayo – หลักมนุษยสัมพันธ์ 2. Abraham Maslow – ทฤษฎีลำดับชั้นความ ต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs Theory) 2.1 ความต้องการด้านกายภาพ 2.2 ความต้องการด้านมั่นคง 2.3 ความต้องการด้านสังคม 2.4 ความต้องการด้านชื่อเสียงและการได้รับการยอมรับ 2.5 ความต้องการที่จะประสบผลสำเร็จในชีวิต 3. Douglas McGregor – Theory X & Theory Y 4. Frederick Herzberg – ทฤษฎีสองปัจจัย 4.1 ปัจจัยสุขวิทยา (Hygenic Factors) ได้แก่ การบังคับบัญชา เงินเดือน ความมั่นคง 4.2 ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) ได้แก่ ความก้าวหน้า ผลสำเร็จของงาน ความรับผิดชอบ

กรอบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ยุคหลังพฤติกรรมนิยม เกิดขึ้นการประชุมที่ Minnowbrook ของ นักรัฐประศาสนศาตร์รุ่นใหม่ ร่วมกันเสนอเป็น รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public Administration – New P.A.) จุดเน้นของ New Public Administration 1. ให้ความสำคัญต่อการศึกษาผลกระทบ ขององค์การต่อผู้รับบริการ และ ผลกระทบของผู้รับบริการต่อองค์การ 2. ให้ความสำคัญต่อปัญหาสาธารณะ 3. ให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคและ ความเป็นธรรมในสังคม

การเลือกใช้บริการ กับการแสดงออกของประชาชน 1. ออกไปยาก – เสียงไม่ดัง (low exit-low voice) เช่น บริการด้านการแพทย์ (เปิดช่องให้ร้องเรียน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่) 2. ออกไปยาก - เสียงดัง (low exit-strong voice) เช่น ไฟฟ้า ประปา (แต่งตั้งตัวแทนประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจ) 3. ออกไปง่าย - เสียงไม่ดัง (high exit-low voice) เช่น การเคหะ สถานีอนามัย (เปิดให้มีผู้ให้บริการหลายราย contract out) 4. ออกไปง่าย - เสียงดัง (high exit-high voice) เช่น สายการบิน (เปิดให้มีการแข่งขัน การแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน)