Application of Graph Theory

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
น้ำหนักแสงเงา.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
ความเท่ากันทุกประการ
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Engineering Graphics II [WEEK5]
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
การนำทฤษฎีกราฟมาใช้ในด้าน
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Use Case Diagram.
ระบบอนุภาค.
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
(Applications of Derivatives)
เศษส่วน.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่องแบบบันทึกผลการตรวจวัดค่าทึบแสงและแบบสรุปผลการตรวจวัดค่าทึบแสงของเขม่าควันจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียของเตาเผามูลฝอยรวมทั้งลักษณะและหน่วยวัดค่าความทึบแสงของแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
เรื่อง ทักษะการเล่นวอลเล่ย์บอล
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
สวัสดี...ครับ.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
พีระมิด.
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ความชันและสมการเส้นตรง
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Application of Graph Theory The Gallery Problem Application of Graph Theory

ผู้จัดทำ นายทรงพล ลิ้มพิสูจน์ เลขที่ 13 ชั้น 6/7 นายปพจน์ ธรรมเจริญพร เลขที่ 16 ชั้น 6/7

What’s The Gallery Problem?? กำหนดให้กำแพงของพิพิธภัณฑ์มีรูปร่างเป็นรูปหลายเหลี่ยมใดๆซึ่งประกอบด้วยด้าน n ด้าน กำหนดให้มียามเฝ้าพิพิธภัณฑ์อยู่ในตำแหน่งต่างๆที่คงที่ไว้ สมมติว่ายามสามารถหมุนตัวเพื่อตรวจตราสภาพโดยรอบได้อย่างอิสระแต่ห้ามเคลื่อนที่จากจุดเดิม เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เราควรจะจ้างยามให้จำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องแน่ใจว่าพิพิธภัณฑ์ได้รับการตรวจตราทุกตารางนิ้วด้วย เราควรจะจ้างยามเป็นจำนวนน้อยที่สุดกี่คน นิยาม f(n) แทนจำนวนของยามที่น้อยที่สุดที่เป็นไปได้กรณีที่พิพิธภัณฑ์มีจำนวนด้าน n ด้านและมีรูปร่างอิสระ

n = 5 ยังไงๆก็ใช้คนเดียวพอ

n = 6 อันนี้คนเดียวพอ อันนี้ต้อง 2 คน

Investigate the problem พยายามสร้างรูปที่ซับซ้อนที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้... n = 8 f(8) = 2

n = 12 f(n) = 3 ??

n = 12 f(n) = 4 ??

f(3) = 1 f(4) = 1 f(5) = 1 f(6) = 2 f(7) = 2 f(8) = 2 f(9) = 3 f(10) = 3 f(11) = 3 f(12) = 3 … คาดเดา : f(n) = floor(n/3) ??? (floor ของ x คือ จำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x) จริงหรือเปล่า ?????? ยิ่งตอนที่ n มีค่ามากๆ รูปอาจซับซ้อนมาก แล้วเราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าใช้ยามเท่านี้เพียงพอแน่ๆ

สิ่งหนึ่งที่รู้แน่นอน คือ f(n) ≥ floor(n/3) ลากเส้นตรงเส้นหนึ่งยาวพอสมควรลากเส้นตรงต่อ ณ จุดปลายข้างใดข้างหนึ่ง ทำเป็น “ซอก” ลึกลงไป ทำลักษณะเดียวกันนี้หลายๆครั้ง ระหว่าง “ซอก” ก็ลากเส้นตรงคั่นด้วย หากมีเส้นตรงเหลือก็ให้ทำ “ซอก” ติดกันในตอนท้าย

“ซอก” หนึ่งๆจะสร้างได้โดยด้าน 3 ด้าน ยกเว้น “ซอก” สุดท้าย จะใชเพียง 2 ด้าน ดังนั้น หากกำหนดด้านมา n ด้าน เราก็จะสร้าง “ซอก” ได้อย่างน้อย floor(n/3) “ซอก”) เห็นได้ชัดเจนว่า “ซอก” หนึ่งๆจะต้องใช้ยามหนึ่งคนแน่ๆ ดังนั้น f(n) ≥ floor(n/3) *

Consider into a graph แทนจุดยอดมุมรูปหลายเหลี่ยมเป็น จุดยอดของกราฟ ขอบของรูปหลายเหลี่ยมแทนเส้นในกราฟ

กลยุทธ์ : พิจารณาการแบ่งรูปหลายเหลี่ยมเป็นรูปสามเหลี่ยมย่อยๆที่ไม่ทับซ้อนกัน และมีจุดยอดเป็นจุดยอดของรูปหลายเหลี่ยม (จะเรียกการแบ่งเช่นนี้ว่า Triangulation)

กลยุทธ์ : หากให้ยามยืนเฝ้าบริเวณจุดยอดมุมของสามเหลี่ยมพอดี จะพบว่าสามเหลี่ยมทุกอันที่มีจุดยอดมุมที่ยามยืนอยู่เป็นส่วนประกอบนั้น จะได้รับการดูแลอย่างแน่นอน (แต่ไม่รับประกันว่าสามเหลี่ยมอื่นๆจะได้รับการสอดส่องครบ)

กลยุทธ์ : พิจารณาการระบายสีจุดยอดของกราฟด้วยสีสามสี กำหนดเงื่อนไขว่า จุดประชิดกันต้องมีสีต่างกัน ดังนั้น สามเหลี่ยมทุกชิ้นจะมีจุดยอดสามสีเสมอ หลังจากระบายสีเสร็จแล้ว เราสามารถเลือกสีใดสีหนึ่ง เสร็จแล้ววางยามไว้ตรงมุมที่ระบายสีนั้น เราแน่ใจได้เลยว่า สามเหลี่ยมทุกชิ้นได้รับการดูแลแน่นอน

กลยุทธ์ : มีทฤษฎีกล่าวไว้ว่า เมื่อมีรูป n เหลี่ยมมาให้ ไม่ว่าเราจะทำ Triangulation แบบใดก็ตามและระบายสีอย่างไรก็ตาม จะมีสีหนึ่งซึ่งจุดสีนั้นๆมีจำนวนไม่เกิน floor(n/3) จุด เสมอ f(n) ≤ floor(n/3)**

จาก * และ ** จะได้ว่า f(n) = floor(n/3) Conclusion!!!

อิอิ จบแล้วนะค่ะ ขอบคุณค่ะ บายบายทุกๆๆคน