ส40105 อ. ฐิติมา กล้าหาญ ภาคเรียนที่ 1/2551 ม.6/5-10 อารยธรรมโรมัน ส40105 อ. ฐิติมา กล้าหาญ ภาคเรียนที่ 1/2551 ม.6/5-10
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
ชาวโรมันสืบเชื้อสายมาจากพวกอินโดยูโรเปียน เช่นเดียวกับชาวกรีก ถิ่นฐานของชาวโรมัน อยู่บริเวณที่ราบตอนกลางของคาบสมุทรอิตาลี ที่เรียกว่า ละติอุม (Latium) กลุ่มชาวละตินสร้างบ้านเรือนอยู่ในแถบที่ราบลุ่ม แม่น้ำไทเบอร์ พวกนี้พูดภาษาละติน
ชาวอีทรัสกัน ที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกหนือแม่น้ำไทเบอร์ ได้ขยายอำนาจลงมาปกครองที่ราบละติอุมอันเป็นที่อยู่ของชาวละติน และได้เข้ามาปกครองกรุงโรม
ต่อมาชาวโรมร่วมมือกันขับไล่กษัตริย์อีทรัสกันออกไปจากโรม และได้สถาปนาโรมเป็นรัฐอิสระ มีผู้นำที่ประชาชนเป็นคนเลือก
หลังจากนั้นโรมได้ปราบกลุ่มต่างในแหลมอิตาลี เช่น อีทรัสกันและกรีก ได้อย่างราบคาบ แล้วโรมก็ขยายอำนาจลงสู่แถบเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งในแถบนี้ คาร์เทจ มีความมั่งคั่งมากจากการค้าทางทะเล ได้ครอบครองดินแดนหลายแห่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก
อารยธรรมโรมัน
ชาวโรมทำสงครามกับ คาร์เทจ เรียกว่า สงครามพิวนิก (Punic War) ถึง 3 ครั้ง ในที่สุดชาวโรมก็สามารถปราบ คาร์เทจได้อย่างราบคาบ
จูเลียส ซีซาร์ เป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการทหารและการปกครอง ได้ปราบแคว้นโกล (ฝรั่งเศส) ได้สำเร็จทำให้ ทำให้จักรวรรดิโรมันขยายไปจนจรดแม่น้ำดานูบ และแม่น้ำไรน์ จูเลียส ซีซาร์ได้ขึ้นสู้อำนาจในฐานะผู้เผด็จการแห่งอาณาจักรโรมัน แต่ไม่นานก็ ถูกลอบสังหาร
ต่อมา ออตตาเวียน ซีซาร์ ได้ขจัดอำนาจของ มาร์ก แอนโทนี และพระนางคลีโอพัตรา(มาร์ก แอนโทนี ได้หนีไปที่อียิปต์และได้มีสัมพันธ์สวาทกับพระนางคลีโอพัตรา) และได้อำนาจปกครองโดยเด็ดขาดแต่ผู้เดียว ซึ่งเป็นช่วงที่โรมเกิดความสงบสุขพระองค์ โรมันเจริยรุ่งเรืองที่สุด และได้ชื่อว่าเป็นสมัย สันติภาพแห่งโรมัน (PAX Roman)
สมัยของจักรพรรดิ คอนสแตนติน แยกจักรวรรดิโรมันออกเป็นสองส่วน คือ ด้านตะวันตก มีศุนย์กลางอยู่ที่ กรุงโรม ด้านตะวันออก มีศูนย์อยู่กลางอยู่ที่ กรุงคอนสแตนติโนเบิล
จนถึง ค.ศ. 476 อาณาจักรโรมันล่มสลายอย่างเป็นทางการ เนื่องจากในปีนั้นผู้นำอารยชนเยอรมันได้โค่นล้มจักรพรรดิโรมันองค์สุดท้ายและได้ครอบครองอิตาลีได้ทั้งหมด
สงครามพิวนิค (264 – 146 ก่อน ค.ศ.) ครั้งที่ 1 เกิดขึ้นเมื่อ 246 – 241 ก่อนคริสตศักราช ครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อ 218 – 201 ก่อนคริสตศักราช ครั้งที่ 3 เกิดขึ้นเมื่อ 149 – 146 ก่อนคริสตศักราช
สงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์ กับปอมเปย์ (102-44 ก่อน ค.ศ.) สงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์ กับปอมเปย์ (102-44 ก่อน ค.ศ.)
วิทยาการสงครามของกองทัพโรมัน Javelin ดาบ Gladius
Testudo (tortoise) formation การตั้งรับแบบเป็นกลุ่มที่รัดกุมที่สุดในสมัยนั้น
Wedge formation Cavalry-Repel formation
War Machine: Ballistae
War Machine: Catapult
การเมืองการปกครองของอาณาจักรโรมัน หากเราเป็นหนี้บุญคุณชาวกรีกในเรื่องปรัชญา วรรณคดี ศิลปะ เราก็คงเป็นหนี้ชาวโรมันในด้านการเมืองการปกครอง
ปัจจัยที่มีผลต่อระบบการปกครอง ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชาชนชนชั้นสูง (patricians) และกลาง (plebeians) ความขัดแย้งระหว่างขั้วอำนาจในสภา
หลักการทางการเมืองของอาณาจักรโรมัน system of checks and balances โดยทางทฤษฎีแล้วเป็นระบอบประชาธิปไตย (one man one vote) ในทางปฏิบัติ มีปัจจัยทางด้านฐานะทางสังคมและสายเลือด และความนิยมชมชอบจากประชาชนเข้ามามีอิทธิพลสูงมาก
สภาโรมัน (Roman Senate: Council of Elders) มีสมาชิก 300 คน รับใช้ชั่วชีวิต เป็นผู้เคยดำรงตำแหน่งทางการบริหารอาณาจักร ทั้งหมดซึ่งถูกเลือกโดยประชาชน กุมอำนาจส่วนใหญ่ในการบริหารอาณาจักร Roman Senators
The Curia Julia
The Curia Julia ด้านใน
Roman Cursus Honorum การไต่เต้าทางการเมือง *imperium
ศิลปะโรมัน (พ.ศ.340 - พ.ศ.870)
ศิลปกรรมโรมัน ศิลปะกรีก และอีทรัสกันเปรียบเหมือนมารดาของศิลปะโรมัน ศิลปกรรมสนองความต้องการทางกาย และความยิ่งใหญ่ ของจักรวรรดิ์ โรมันเน้นความหรูหรา สง่างาม อำนาจ
ประติมากรรม มีประเพณีการทำ อิมเมจินส์ (Imagines) โดยใช้ขึ้ผึ้งหล่อหน้าบรรพบุรุษเก็บไว้บูชา
ประติมากรรม ภาพนูนสูง The Altar of Peace
ประติมากรรม ประติมากรรมลอยตัว Augustus Hadrian
สถาปัตยกรรม Ionic Composite Corinthian
สถาปัตยกรรม Arch และ Vault
สถาปัตยกรรม Pantheon
สถาปัตยกรรม Forum Romanum Forum of Trajan
สถาปัตยกรรม Basilica Ulpia
สถาปัตยกรรม Colosseum
สถาปัตยกรรม Bath of Caracalla
สถาปัตยกรรม Pont Du Gard Triumphal Arch of Titus
จิตรกรรม Perspective Portriat Fresco
ศาสนาโรมัน จักรพรรดิออกุสตุส
คริสตศาสนาในจักรวรรดิโรมัน
ปรัชญา ปรัชญาจะหนักไปทางบทกวี ศิลปะการพูดและนิติศาสตร์ Scipio
คำถามที่ต้องตอบ เพราะเหตุใดชนชาติโรมันถึงต้องทำสงครามขยายอาณาเขตมากมายนัก ทำไมถึงอยู่สงบ ๆ อย่างคนไทยไม่ได้ จงแสดงความคิดเห็น จงยกตัวอย่างมรดกทางการเมืองและการปกครองจากโรมันที่เรายังได้ใช้ในปัจจุบัน
เอกสารอ้างอิง http://members.thai.net/bomber9983/Romanart1.html http://www.human.lpru.ac.th/E_learnning/suparp/chapter2.3.htm http://www.prc.ac.th/newart/webart/history03.html http://noir.exteen.com/20061224/entry-1 http://www.vroma.org/~bmcmanus/romangvt.html http://en.wikipedia.org/wiki/Roman_Senate