โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
Advertisements

งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
อนามัยสิ่งแวดล้อม วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษตกค้างยาวนาน POPs & HEALTH
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แผนคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ภายใต้โครงการติดตามประเมินผลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2553
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย นพ. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ โดยการสนับสนุนจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของประเทศในประเด็นปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น 2. เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านทรัพยากรและการจัดการปัญหา 3. เพื่อวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวัง 4. เพื่อจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนและทำงานร่วมกันของเครือข่าย

เป้าหมายของโครงการ ชุดดัชนีชี้วัดปัญหาสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยใน 4 ประเด็น ภาคเกษตร(สารกำจัดศัตรูพืช) ภาคอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศ ผลกระทบของ สวล. ต่อสุขภาพเด็ก 2. ข้อมูลตามดัชนีชี้วัดสถานการณ์ที่สำคัญในระดับประเทศและพื้นที่ 3. ข้อมูลแสดงทรัพยากรและการจัดการปัญหา 4. ระบบข้อมูล(ของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีประสิทธิภาพ 5. กลไกและเครือข่ายในการพัฒนาองค์ความรู้และการพัฒนาระบบข้อมูลที่ต่อเนื่อง

วิธีการและขั้นตอน 1. การศึกษาสถานการณ์ และการจัดการสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของประเทศ และการทบทวนสถานการณ์ในต่างประเทศ 2. การพัฒนาตัวดัชนีชี้วัด 3. การพัฒนาระบบข้อมูล 4. การสร้างเครือข่าย

การพัฒนาตัวดัชนีชี้วัด ทบทวนองค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อกำหนดร่างตัวชี้วัดที่สำคัญ สำรวจฐานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ประชุมระดมสมองของเครือข่ายเพื่อศึกษาความต้องการในการใช้และความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูลของตัวดัชนีชี้วัด ทดลองจัดเก็บข้อมูลในตัวแปรที่ขาด เพื่อปรับปรุงตัวดัชนีชี้วัด รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และประเมินผล

กรอบแนวคิดเรื่อง ตัวดัชนีชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย

คน + สิ่งคุกคาม + สิ่งแวดล้อม กรอบแนวคิด คน + สิ่งคุกคาม + สิ่งแวดล้อม Pre-clinical ป่วยเป็นโรค เสียชีวิต

สายโซ่ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ Source activities: Industry Transport Domestic activities Waste Agriculture Emissions Environmental: concentration: Air Water Food Soil Exposure: External exposure Absorbed dose Target organ dose Health effect: Subclinical effect Morbidity Mortality

ประเด็น - แหล่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทบทวน - ข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดโรคมะเร็งจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมที่จะเก็บ Agent – suspected agent, Env.&Occ. Haz. การสัมผัส(Exposure) ทั้งในและนอกงาน Person – อายุ เพศ อาชีพ Place - สถานที่ทำงาน สถานที่พบผู้ป่วย สถานที่ Diag. Time – ประวัติการทำงานตั้งแต่เริ่มทำงาน ระยะเวลาที่ทำงาน expose

- การพัฒนาองค์ความรู้ - ด้านการเฝ้าระวัง Health effects ก่อนป่วย/ การเกิดโรค - การวิเคราะห์ Spatial epidemiology & GIS เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการป่วย ใครจะเป็นผู้ดำเนินการ?