โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย นพ. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์และคณะ โดยการสนับสนุนจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของประเทศในประเด็นปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น 2. เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านทรัพยากรและการจัดการปัญหา 3. เพื่อวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวัง 4. เพื่อจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนและทำงานร่วมกันของเครือข่าย
เป้าหมายของโครงการ ชุดดัชนีชี้วัดปัญหาสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยใน 4 ประเด็น ภาคเกษตร(สารกำจัดศัตรูพืช) ภาคอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศ ผลกระทบของ สวล. ต่อสุขภาพเด็ก 2. ข้อมูลตามดัชนีชี้วัดสถานการณ์ที่สำคัญในระดับประเทศและพื้นที่ 3. ข้อมูลแสดงทรัพยากรและการจัดการปัญหา 4. ระบบข้อมูล(ของกระทรวงสาธารณสุข) ที่มีประสิทธิภาพ 5. กลไกและเครือข่ายในการพัฒนาองค์ความรู้และการพัฒนาระบบข้อมูลที่ต่อเนื่อง
วิธีการและขั้นตอน 1. การศึกษาสถานการณ์ และการจัดการสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของประเทศ และการทบทวนสถานการณ์ในต่างประเทศ 2. การพัฒนาตัวดัชนีชี้วัด 3. การพัฒนาระบบข้อมูล 4. การสร้างเครือข่าย
การพัฒนาตัวดัชนีชี้วัด ทบทวนองค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อกำหนดร่างตัวชี้วัดที่สำคัญ สำรวจฐานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ประชุมระดมสมองของเครือข่ายเพื่อศึกษาความต้องการในการใช้และความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูลของตัวดัชนีชี้วัด ทดลองจัดเก็บข้อมูลในตัวแปรที่ขาด เพื่อปรับปรุงตัวดัชนีชี้วัด รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และประเมินผล
กรอบแนวคิดเรื่อง ตัวดัชนีชี้วัดทางด้านสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
คน + สิ่งคุกคาม + สิ่งแวดล้อม กรอบแนวคิด คน + สิ่งคุกคาม + สิ่งแวดล้อม Pre-clinical ป่วยเป็นโรค เสียชีวิต
สายโซ่ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ Source activities: Industry Transport Domestic activities Waste Agriculture Emissions Environmental: concentration: Air Water Food Soil Exposure: External exposure Absorbed dose Target organ dose Health effect: Subclinical effect Morbidity Mortality
ประเด็น - แหล่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทบทวน - ข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดโรคมะเร็งจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมที่จะเก็บ Agent – suspected agent, Env.&Occ. Haz. การสัมผัส(Exposure) ทั้งในและนอกงาน Person – อายุ เพศ อาชีพ Place - สถานที่ทำงาน สถานที่พบผู้ป่วย สถานที่ Diag. Time – ประวัติการทำงานตั้งแต่เริ่มทำงาน ระยะเวลาที่ทำงาน expose
- การพัฒนาองค์ความรู้ - ด้านการเฝ้าระวัง Health effects ก่อนป่วย/ การเกิดโรค - การวิเคราะห์ Spatial epidemiology & GIS เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการป่วย ใครจะเป็นผู้ดำเนินการ?