RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การเขียนรายงานการวิจัย
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP

การศึกษาลักษณะทางพยาธิวิทยาของ ผู้ป่วยที่ตรวจพบ Cervical Lymphadenopathy ซึ่งได้จากการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ปี 2543-2544

ชื่อผู้ทำการวิจัย นสพ. ธีราภา ชาญกูล รหัส 41460163 นสพ. ธีราภา ชาญกูล รหัส 41460163 นสพ. ลินดา แซ่โง้ว รหัส 41460627 นสพ. สุภัค ชุติไพจิตร รหัส 41460643

หลักการและเหตุผล เนื่องจากมีผู้ป่วย CERVICAL LYMPHADENOPATHY จำนวนมากในโรงพยาบาลพุทธชินราช ที่ได้รับการวินิจฉัยลักษณะทางพยาธิวิทยาจากการทำ CERVICAL LYMPHNODE BIOPSY จากการตรวจทาง Histoโดยวิธี H&E staining และการตรวจพิเศษบางชนิดเพิ่มเติม ผู้วิจัยเห็นความสำคัญของการรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY และต้องการทราบถึงลักษณะทางพยาธิวิทยาที่ตรวจพบในผู้ป่วยเหล่านี้ โดยแบ่งตามช่วงอายุของผู้ป่วยทั้งหมด และแยกเพศชายและหญิง โดยบันทึกเป็นตารางแสดง จำนวน,อัตรา,กราฟแสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวในผู้ป่วยที่ทำ CERVICAL LYMPNODE BIOPSY ในปี 2543-2544 ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการช่วยแพทย์วินิจฉัยเบื้องต้น และวางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป

REVIEW LITERATURE ลักษณะทาง Anatomy ของ CERVICAL LYMPHNODE นิยามของ lymphadenopathy,biopsy และ คำศัพท์ต่างๆที่ใช้ในการศึกษาทางพยาธิวิทยาของ ต่อมน้ำเหลือง ลักษณะทางพยาธิวิทยาของ Cervical lymph node biopsy ที่ตรวจพบในโรงพยาบาลพุทธชินราช วิธีการทำ CERVICAL LYMPH NODE BIOPSY แต่ละวิธี และขั้นตอนการทำทางพยาธิเพื่อให้ได้ผลการวินิจฉัย สรุปผลการศึกษาจากงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง

LYMPHADENOPATHY นิยาม : เป็นภาวะที่ต่อมน้ำเหลืองโต โดยกำหนดว่าเป็นผู้ที่มีต่อมน้ำเหลืองที่โตเกินกว่า 1 cm. และอยู่นานกว่า 2-3 สัปดาห์ หลักการ Approach ผู้ป่วย 1. LOCALIZED LYMPHADENOPATHY : - Infection - Malignancy 2. GENERALIZED LYMPHADENOPATHY - Infection - Immune disease - Hematologic malignancy - others.

METHOD LYMPHNODE BIOPSY : PROCESS * Routine histopathology 1. EXCISIONAL BIOPSY 2. INCISIONAL BIOPSY PROCESS LYMPHNODE BIOPSY SECTION 5-6 u FIXATION STAINING MICROSCOPIC * Routine histopathology * Histochemistry * Immunohistochemistry

REVIEW LITERATURE วัยผู้ใหญ่ : พบมากที่สุด คือ Benign ( TB Lymphadenitis ) ในกลุ่ม Malignant พบ Metastasis มากกว่า Lymphoma และในกลุ่ม Lymphoma พบ Non-Hodgkin มากกว่าHodgkin วัยเด็ก : พบมากที่สุด คือ Benign ( infection ) ในกลุ่ม Malignant เช่นเดียวกับในวัยผู้ใหญ่ บางงานวิจัยในวัยผู้ใหญ่ อาจพบ reactive hyperplasia

วัตถุประสงค์ เพื่อทราบถึงอัตราการพบลักษณะพยาธิวิทยาแต่ละชนิด ที่ตรวจพบได้ในผู้ป่วยที่มี Cervical Lymphadenopathyจากการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราชตั้งแต่ ปี 2543-2544 โดยแบ่งตามเพศ และแบ่งเป็นช่วงอายุต่าง ๆ

RESEARCH QUESTION คำถามหลัก ลักษณะทางพยาธิวิทยาชนิดใดบ้างที่ตรวจพบในผู้ป่วย CERVICAL LYMPHADENOPATHY ซึ่งได้รับการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราช ปี 2543-2544

RESEARCH QUESTION คำถามรอง ลักษณะทางพยาธิวิทยาแต่ละชนิดมีจำนวนเท่าใด ลักษณะทางพยาธิวิทยาชนิดใด พบมากที่สุดในแต่ละ ช่วงอายุ และแบ่งตามเพศ

รูปแบบการวิจัย กำหนด ผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY และทำ CERVICAL LYMPHNODE BIOPSY ใน โรงพยาบาลพุทธชินราช ปี 2543-2544

รูปแบบการวิจัย รูปแบบ Applied Medical research พรรณนาปรากฏการณ์ (case series) OBSERVATIONAL STUDY DESCRIPTIVE STUDY (RETROSPECTIVE 2ปีย้อนหลัง)

STUDY DESIGN A. TARGET POPULATION ผู้ป่วยที่ทำ Cervical Lymphnode biopsy ในโรงพยาบาล พุทธชินราช ปี 2543-2544 Inclusion criteria ผู้ป่วยที่มี CERVICAL LYMPHADENOPATHY และได้รับการทำ Cervical Lymph node biopsy ที่แผนกพยาธิวิทยาโรงพยาบาลพุทธชินราช ปี 2543-2544 Exclusion criteria กลุ่มที่ตรวจไม่พบความผิดปกติของ CERVICAL LYMPHADENOPATHY , กลุ่มที่เป็นมะเร็งของศีรษะและ ลำคอที่ทำ radical dissection และกลุ่มที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย

STUDY DESIGN B. SAMPLING SIZE ผู้ป่วยทุกรายที่มี CERVICAL LYMPHADENOPATHY และได้ทำ CERVICAL LYMPH NODE BIOPSY ปี 2543-2544

RESEARCH TOOL ตารางเก็บข้อมูล Tools : การรวบรวมข้อมูลลักษณะทางพยาธิวิทยาจากการทำ Cervical Lymph node Biopsy ในผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY ในปี พ.ศ. 2543-2544 จากแผนกพยาธิวิทยา โรงพยาบาลพุทธชินราช

ตารางแสดง อัตราการพบลักษณะทางพยาธิวิทยาของผู้ป่วยที่ตรวจพบ Cervical Lymphadenopathy ซึ่งได้จากการทำ Cervical biopsy ในช่วงอายุต่างๆ อายุ (ปี) Benign Malignancy Reactive Granulomatous inflam. Lymphoma Metas. อื่นๆ รวม Hyperplasia TB Fungus etc Hodgkin Non-H 0-19 20-39 40-59 60-79 >79 รวม

บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย ลักษณะทางพยาธิวิทยาที่ตรวจพบ cervical lymphadenopathy ซึ่งได้จาก การทำ cervical lymph node biopsy ใน โรงพยาบาลพุทธชินราช จ. พิษณุโลก 1. Reactive hyperplasia 2. Granulomatous inflammation : TB, fungus, etc. 3. Malignant lymphoma : Non-Hodgkin & Hodgkin 4. Malignant metastasis

บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย ลักษณะทางพยาธิวิทยาในแต่ละช่วงอายุ 0-19 ปี พบ Reactive hyperplasia มากที่สุด 20-39 ปี พบ Granulomatous inflammation with TB มากที่สุด 40-59 ปี พบ Malignant metastasis มากในเพศชาย และ Reactive hyperplasia มากในเพศหญิง 60-79 ปี พบ Malignant metastasis มากที่สุด > 79 ปี พบ Malignant metastasis มากที่สุด

บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย ลักษณะทางพยาธิวิทยาแต่ละชนิด Reactive hyperplasia 40-59 ปี Granulomatous inflammation 20-39 ปี Malignant lymphoma 60-79 ปี Malignant metastasis 60-79 ปี

EXPECTED OUTCOME เพื่อเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยเบื้องต้นและวางแผนการรักษาได้อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการศึกษาและพัฒนางานต่อไป ในอนาคต เพื่อใช้เป็นความรู้ในการปฏิบัติทางเวชปฏิบัติต่อไป

ข้อเสนอแนะ 1. ขาดข้อมูลที่จำเป็นบางอย่าง 2. ผู้วิจัยขาดความชำนาญในการใช้ โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล 3. ระยะเวลาในการทำวิจัย

THE END Thank you…