ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช นสพ. ชนันภรณ์ วิพุทธศิริ นสพ. วันวิสาข์ ไชยพันธุ์ นสพ. หัชพร เขียวบ้านยาง
1. .ข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการเป็นอย่างไร คำถามหลัก ผู้ป่วยมีความพึงพอใจในการมาใช้บริการคลินิกพิเศษในแต่ละแผนกของโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก หรือไม่ อย่างไร คำถามรอง 1. .ข้อมูลทั่วไปของผู้มารับบริการเป็นอย่างไร 2 .ถ้าไม่พอใจ ไม่พอใจในด้านใดบ้าง 3. เพศ , อายุ , สถานภาพสมรส ,การศึกษา, อาชีพ , รายได้ มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร 4 .ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงบริการมีอะไรบ้าง
ทบทวนวรรณกรรม สุพัตรา รัตนวราหะและคณะ : ความพึงพอใจของผู้มารับ บริการแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์และคณะ : ความพึงพอใจของผู้มารับ บริการด้ารการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลทั่วไปพุทธชินราช รุ่งแสง กนกวุฒิ : ความพึงพอใจของผู้มารับบริการด้านการให้บริการและอาคารสถานที่ที่กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
METHOD Cross- sectional study 1 week Descriptive study Cross- sectional study 1 week Research tool -questionaire self administered
1. อายุรกรรม : คลินิกความดันโลหิตสูง 2. ศัลยกรรม : คลินิกศัลยกรรมตกแต่ง 3. สูติ - นรีเวช : คลินิกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 4. กุมารเวชกรรม : คลินิกโรคเลือดและมะเร็งในเด็ก
Target population * Inclusion criteria * Exclusion criteria 1. เป็นผู้ที่มารับบริการในคลินิกพิเศษดังกล่าว ในช่วงเวลาที่ทำ การศึกษา 1 สัปดาห์ 2. ผู้ที่มารับบริการทั้งหญิงและชาย อายุ 15 ปีขี้นไป ที่โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ซึ่งอยู่ในสภาพที่ให้ข้อมูลได้ และ อ่านหนังสือ พูด ฟัง ภาษาไทย เข้าใจ * Exclusion criteria 1. ผู้ทีไม่สมัครใจในการให้ข้อมูลแก่ผู้วิจัย
อคติในการวิจัย พบว่ามีอคติในการวิจัยเนื่องจากผู้ทำการวิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลจากผู้มารับบริการในโรงพยาบาล เท่านั้น แต่ไม่ได้ออกไปเก็บข้อมูลนอกโรงพยาบาล จากผู้ที่เคยมารับบริการในช่วงเวลาที่ผ่านมา
ผลการวิจัย ตารางแสดงจำนวนและร้อยละ ของลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่มารับบริการด้านการรักษาพยาบาลในคลินิกพิเศษ ในโรงพยาบาลพุทธชินราช 1. เพศ
2. อายุ
3. สถานภาพสมรส
4. ระดับการศึกษา
5. อาชีพ
6. รายได้
ตารางคะแนนเฉลี่ยรวมของความพึงพอใจของผู้มารับบริการด้านการรักษาพยาบาลในคลินิกพิเศษของแต่ละแผนกในโรงพยาบาลพุทธชินราช จำแนกตามหมวด
ตารางแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรระหว่างข้อมูลทั่วไปกับความพึงพอใจของผู้มารับบริการที่คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช 1. เพศ
2. อายุ
3. สถานภาพสมรส
4. ระดับการศึกษา
5. อาชีพ
6. รายได้
สรุปผลการวิจัย ความพึงพอใจด้านต่างๆ ที่ผู้วิจัยนำมาวัด อันได้แก่ ความสะดวก มนุษยสัมพันธ์ อุปกรณ์การรักษา คุณภาพการบริการ และการประสานงานและข้อมูลที่ได้รับ พบว่าความพึงพอใจในทุกๆด้าน ในทุกคลินิกพิเศษของแต่ละแผนกอยู่ในระดับพอใจเหมือนกัน
พบว่าความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P<0.05) ดังนี้ * ในคลินิกศัลยกรรมตกแต่ง : สถานภาพสมรสกับความพึงพอใจ * ในคลินิกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก : ระดับการศึกษาและรายได้ กับความพึงพอใจ
ข้อเสนอแนะที่ได้คือ ควรปรับปรุงในเรื่องการพูดจาของเจ้าหน้าที่และพยาบาลให้ไพเราะ สุภาพขึ้น , กรณีผู้ป่วยแพทย์นัด หากแพทย์ติดภาระมาให้บริการไม่ได้ ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบก่อนล่วงหน้า , อยากให้แพทย์ให้เวลาในการตรวจรักษาผู้ป่วยแต่ละครั้งมากกว่านี้ , อยากให้แพทย์มาตรงตามเวลา และเปิดบริการนอกเวลาราชการ
วิจารณ์ 1. ผู้วิจัยศึกษาเฉพาะผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกพิเศษ แบบผู้ป่วยนอกเท่านั้น ควรมีการศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกพิเศษ และนอนพักรักษาตัวใน รพ. 2. การศึกษาอาจมีอคติในเรื่องกลุ่มประชากรเนื่องจากเก็บข้อมูล เพียงในโรงพยาบาลเท่านั้น
THE END