ระบบการพิมพ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดยเด็กชายพงษ์ธร พูลสวัสดิ์
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
การสร้างสื่อสิงพิมพ์ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ด.ญ.ไพลิน จงจำรัสพันธ์ ม.2/3
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
ทรัพยากรสารสนเทศ.
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
สื่อประกอบการเรียนรู้
องค์ประกอบ Graphic.
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
แนวทางในการเลือกใช้เครื่องจักรบรรจุภัณฑ์ ในอตุสาหกรรมอาหาร
Programs Computer CAD/CAM Company Logo.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 2 สุนทรียภาพในงานวิจิตรศิลป์.
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
วาดภาพสวยด้วย Paint.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
Mold Design # 5 ระบบปลดชิ้นงาน(ejection)
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
The History of Silkscreen Printing
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
วัดมโนภิรมย์ จังหวัด มุกดาหาร.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
งานเครื่องล่างรถยนต์
พื้นฐานพิมพ์ดีด โดย นางสุริยา พรรณราย.
อุโบสถวัดราช บูรณะ ลักษณะ อุโบสถเป็นอาคารก่อ อิฐถือปูน ด้านหน้ามีทางเข้า ๒ ทาง มีประตู ๒ คู่ มีหน้าต่างด้านละ ๔ คู่ รวมเป็น ๘ คู่ พื้นภายในพระอุโบสถยกระดับสูง.
การแกะสลักดอกลีลาวดีจากหัวไชเท้า
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
การเข้าไม้.
Graphic Design 03.
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด.ญ. ชนิตา พรหมรักษ์ เลขที่ 17 กลุ่ม 13
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการพิมพ์

ระบบการพิมพ์ การพิมพ์โดยทั่วไป แบ่งตามกระบวนการพิมพ์ ได้ 4 ระบบใหญ่ๆ ดังนี้ 1. การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์นูน ( Relief Printing ) 2. การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์ร่องลึก ( Intaglio Printing ) 3. การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์พื้นราบ ( Planographic Printing ) 4. การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์ฉลุ ( Zerigraphic Printing )

การพิมพ์ระบบพิมพ์นูน ( Relief Printing ) เป็นการพิมพ์ยุคเริ่มต้นของมนุษย์ ซึ่งการพิมพ์หนังสือสมัยแรก ๆ ช่างพิมพ์จำเป็นต้องใช้วิธีการแกะไม้ ( Wood Cut ) การสร้างแม่พิมพ์ หลักการของการพิมพ์ในระบบนี้ คือการสร้างแม่พิมพ์ให้มีระดับ แตกต่างกันระหว่างตัวภาพพื้นแม่พิมพ์โดยให้ตัวภาพ มีความสูงกว่าพื้น การสร้างภาพบนแม่พิมพ์ จำเป็นต้องให้ภาพหรือตัวอักษร มีลักษณะเป็น ด้านกลับ ( Reverse ) ซึ่งถ่ายทอดให้ภาพบนชิ้นงานพิมพ์มีลักษณะเป็น ด้านตรง การพิมพ์พื้นนูนที่นิยมใช้กันทั่วไป ได้แก่ การพิมพ์เลตเตอร์เพรส ( Letter Press)และการพิมพ์เฟลกโซกราฟี ( Flexography )

ภาพ : แม่พิมพ์ระบบการพิมพ์นูน

การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์ร่องลึก ( IntaglioPrinting) หลักการพิมพ์ระบบนี้ คือ ส่วนที่เป็นภาพหรือตัวหนังสือ จะมีระดับลึกลงไป หมึกพิมพ์จะขังอยู่ในร่องลึกซึ่งเป็นตัวภาพ เมื่อนำกระดาษวางทาบบนแม่พิมพ์กระดาษก็จะซับหมึกเฉพาะ ส่วนที่เป็นตัวภาพหรือตัวอักษรขึ้นมาเท่านั้น การพิมพ์ระบบนี้ ได้นำมาเป็นแนวทางในการพิมพ์ที่ต้องการประณีต เช่น การพิมพ์ธนบัตร แสตมป์ การพิมพ์จำลองงานทางศิลปะอย่างก้าวหน้าและแพร่หลาย ซึ่งเรียกว่า การพิมพ์ในระบบกราวัวร์ ( Gravure )

ภาพ : แม่พิมพ์ระบบการพิมพ์ร่องลึก

การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์พื้นราบ ( Planographic Printing ) มีหลักการพิมพ์ซึ่งแตกต่างจากทั้งสองระบบที่กล่าวมา โดยแม่พิมพ์จะมีระดับเสมอหรือเท่ากันหมดทั้งตัวภาพและพื้น แต่บริเวณตัวภาพจะมีลักษณะเป็นไข เมื่อนำหมึกพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นไขทาหรือกลิ้งบนแม่พิมพ์ หมึกจะติดเฉพาะบริเวณ ตัวภาพ แต่จะไม่ติดที่พื้น เมื่อนำกระดาษพิมพ์วางทาบลงบนแม่พิมพ์หมึกพิมพ์ จะถ่ายทอดขึ้นมาติดบนกระดาษ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสั่งแท่นพิมพ์หนังสือเข้ามาในประเทศไทย และต่อมาได้ถูกพัฒนามาเป็นระบบการพิมพ์ที่เรียกว่า ระบบออฟเซท ( Off Set ) ซึ่งนิยมใช้ในกิจการพิมพ์อย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน เช่น งานพิมพ์หนังสือ ตำราเรียน พจนานุกรม นิตยสาร สารคดี วิชาการ

ภาพ : แม่พิมพ์ระบบการพิมพ์พื้นราบ

การพิมพ์ระบบแม่พิมพ์ฉลุ ( SerigraphicPrinting ) การพิมพ์ระบบนี้มีกระบวนการพิมพ์ และการสร้างแม่พิมพ์ ที่แตกต่างจากการพิมพ์ทั้งสามระบบข้างต้นอย่างมาก โดยใช้แม่พิมพ์ จากวัสดุที่มีลักษณะเป็นฉาก ( Screen ) บาง ๆ และหมึกพิมพ์ สามารถ ทะลุ เช่น การใช้ผ้าไนล่อนขึงกับกรอบ ( Frame ) จากนั้นจะใช้วัสดุทึบ สำหรับปิดกั้นบนฉากนั้น เพื่อไม่ให้หมึกพิมพ์ผ่านไปในบริเวณที่ไม่ต้องการพิมพ์ โดยเปิดช่องว่างเฉพาะบริเวณที่ต้องการให้เกิดภาพ หรือ ตัวหนังสือ เมื่อนำหมึกพิมพ์มาปาดลงไปบนฉาก สีของหมึกพิมพ์จะทะลุฉากลงไปติดกับชิ้นงาน ( ซึ่งอาจเป็นกระดาษ, โลหะ, แก้ว, พลาสติก, ผ้า ฯลฯ ) เฉพาะส่วนที่เป็นรูปภาพหรือตัวอักษรอย่างงดงาม

ภาพ : แม่พิมพ์ระบบการพิมพ์ฉลุ