ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

องค์การและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศ.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
คุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์.
แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Surachai Wachirahatthapong
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การเงิน.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
Information Technology : IT
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ชื่อสมาชิก น.ส.วิไลพร ยะใจมั่น เลขที่ 4 ชั้น 4.12
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา Management Information System and Case ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา ดร.อรสา เตติวัฒน์ orasat@nu.ac.th ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

บทที่ 10 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ บทที่ 10 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสาร สนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหาร ในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้าง ที่แน่นอน หรือกึ่งโครงสร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับ บุคคลเดียว หรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมี ระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์

เป้าหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายหลัก 3 ประการดังนี้ การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้าง (Semistrured and Unstructured) ความสามารถในการปรับปรุงความต้องการที่เปลี่ยนไป (Ability to adapt changing needs) 3. ง่ายต่อการเรียนรู้และนำมาใช้ (Ease of learning and use)

ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการโต้ตอบ โดยปกติจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือคอมพิวเตอร์พกพา หรือเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่โดยผ่านสายโทรศัพท์ เพื่อติดต่อกับซอฟต์แวร์ของ DSS ตัวแบบ และแหล่งข้อมูลโต้ตอบ บนหน้าจอ ซอฟต์แวร์(Software) ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่ใช้ในการพัฒนาและ รักษาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มักจะถูกเรียกว่า ตัวสร้าง DSS ซึ่งรูปแบบนี้จะประกอบด้วยหลายส่วน สำหรับฐานข้อมูล ตัวแบบ และการจัดการโต้ตอบ

การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจระบบนี้สร้างขึ้นโดยการ กำหนดเหตุการณ์หรือสิ่งที่เกิดขึ้น โดยผู้บริหารจะต้องตัดสินใจ ในอดีต การตัดสินใจอาจจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้บริหารประกอบกับ ข้อมูลจากการประมวลผลรายการ แต่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมักจะมีรูปแบบที่ ไม่แน่นอนทำให้ผู้บริหารยากที่จะตัดสินใจ จึงได้มีการคิดเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ ที่จะช่วยในการตัดสินใจ โดยมีการสร้างตัวแบบขึ้นมา

การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(ต่อ) เครื่องมือระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ประกอบด้วย ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบการจัดการฐานข้อมูล อุปกรณ์การแสดงผล ภาษาโปรแกรมโดยมีจุดประสงค์ทั่วไป เครื่องมือทางสถิติ โปรแกรมสำเร็จรูปกระดาษทำการ เช่น MS-excel ตัวสร้างกราฟฟิก

ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม ได้มีการพัฒนามาจากระบบ CSS ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลในการช่วยสร้างตัวแบบ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ แล้วนำข้อมูลมา วิเคราะห์ แล้วนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาช่วยในการตัดสินใจของ แต่ละผู้ใช้ซึ่งเป็นเอกเทศต่อกัน จึงทำให้เกิดแนวความคิดที่จะพัฒนาการ ใช้ข้อมูลร่วมกัน จึงมีการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันโดยอาศัยเทคโนโลยี ทางการสื่อสาร สมาชิกไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เดียวกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารถึงกันได้ แต่ถ้าหากสมาชิกอยู่ห่างไกลกันมากจะต้องใช้ระบบเครือ ข่ายทางไกล ซึ่งอาจมีการประชุมทางไกลร่วมกัน

ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ตัวแบบที่มีความจำเป็นต้องใช้ในการสนับสนุน การตัดสินใจเฉพาะกลุ่ม

ระบบสนับสนุนผู้บริหาร มีลักษณะคล้ายกับระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ(DSS) และ GDSS ใช้ในการจัดการกับปัญหากึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง แต่ระบบสนับสนุนผู้บริหาร(ESS) จะใช้เฉพาะกับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง ส่วนสำคัญ คือ ข้อมูลต่าง ๆ จะต้องมาจากฐานข้อมูลภายนอก และภายใน มารวมกัน และผู้บริหารสามารถที่จะใช้ข้อมูล ในการวิเคราะห์โอกาส อุปสรรค และแนวโน้ม กลุ่มของผู้บริหารในองค์กรที่มีการใช้ ESS ได้แก่ ประธานและรองประธานฝ่ายต่าง ๆ