ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
ความหมายทั่วไป
“สิ่งที่ทำให้เจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน” (พ.ร.บ.วัฒนธรรม พ.ศ. 2485) “สิ่งที่ทำให้เจริญงอกงามแก่หมู่คณะ วิถีชีวิตของหมู่คณะ” (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2530)
ความหมายในวิชามานุษยวิทยา
“วัฒนธรรม คือ ระบบอันซับซ้อนซึ่งประกอบด้วยความรู้ ความเชื่อ ศิลปะะ ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี ตลอดจนความคิดและลักษณะนิสัยซึ่งมนุษย์ได้มาจากการเป็นมนุษย์คนหนึ่งในสังคม” (Edward B. Tylor, 1871) “วิถีชีวิตทั้งหมดของผู้คน มรดกทางสังคมที่บุคคลได้รับจากกลุ่ม ซึ่งออกแบบมาสำหรับการดำเนินชีวิตของกลุ่มคนนั้นๆ” (Kluckhon, 1949) “ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ถายทอดกันมาผ่านการเรียนรู้ มีส่วนสำคัญในการชี้นำความเชื่อและพฤติกรรมของคนที่ได้เรียนรู้หรือรับรู้สิ่งเหล่านั้น” (Kottak, 2000)
ให้ความหมายของ “วัฒนธรรม” ในมุมมองที่กว้างกว่า ความหมายในวิชามานุษยวิทยา ให้ความหมายของ “วัฒนธรรม” ในมุมมองที่กว้างกว่า ความหมายทั่วไป เป็น “ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม รวมทั้งสิ่ง ที่ดีงามและไม่ดีงาม มีการปลูกฝังถ่ายทอดต่อกันมาเป็น แม่แบบในการปฏิบัติตัว การดำเนินชีวิต”
2) เป็นสิ่งที่คนในกลุ่มมีร่วมกัน เป็นระบบรวมที่เป็นเอกภาพ แต่ละส่วนสอด ลักษณะของวัฒนธรรม มีแบบแผน 2) เป็นสิ่งที่คนในกลุ่มมีร่วมกัน เป็นระบบรวมที่เป็นเอกภาพ แต่ละส่วนสอด ประสานกันอย่างเหมาะสม 4) เกิดจากการเรียนรู้ มีการถ่ายทอด (ต่อ..) 5) มีการเปลี่ยนแปลง ไม่หยุดนิ่ง
การเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Situational learning) การเรียนรู้จากการเป็นสมาชิกของกลุ่ม (Social learning / Socialization) การเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เรียนรู้ความหมายผ่านทาง ภาษาและระบบสัญลักษณ์(Cultural learning / Enculturation)
ประเภทของวัฒนธรรม วัฒนธรรมวัตถุ / วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (Material /Non- material culture) วัฒนธรรมที่เป็นความคิด / วัฒนธรรมที่แสดงออกโดยพฤติกรรม - วัฒนธรรมตามอุดมคติ / วัฒนธรรมที่ปฏิบัติจริง (Ideal / Actual culture) วัฒนธรรมหลัก / วัฒนธรรมย่อย (Dominant culture / sub-culture) - วัฒนธรรมหลวง / วัฒนธรรมราษฎร์ (Great traditions / Little traditions) …วัฒนธรรมประจำชาติ / วัฒนธรรมพื้นบ้าน (ท้องถิ่น) High / Low / Popular culture
วัฒนธรรมกับบุคลิกภาพ วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (Cultural relativity) + แบบแผนการเลี้ยงดูเด็ก (Child-rearing practice) การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) การเรียนรู้ทางวัฒนธรรม (Enculturation)
กำหนดกรอบในการปฏิบัติตัว วัฒนธรรม = หัวใจของวิชามานุษวิทยา ความสำคัญของวัฒนธรรม 1. เป็นกรอบที่ครอบคลุมวิธีคิด โลกทัศน์โดยรวมของคน กำหนดกรอบในการปฏิบัติตัว วัฒนธรรม = หัวใจของวิชามานุษวิทยา หากเข้าใจวัฒนธรรมจะเข้าใจความคิดและพฤติกรรมของคนและกลุ่มคน 2. เป็นเครื่องมือในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของมนุษย์ ความสามารถในการสร้างวัฒนธรรมทำให้มนุษย์พัฒนาไปได้เร็วกว่าสัตว์อื่น
จบแล้วจ้า..