หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การออกแบบสื่อการสอน e-Learning วรวุฒิ มั่นสุขผล หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
e-Learning คืออะไร? ความหมายเฉพาะเจาะจง... การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet หรือ Intranet โดยใช้ Web Technology เป็นหลักในการถ่ายทอดเนื้อหา และใช้เทคโนโลยีระบบในการบริหารจัดการงานสอน
นิยาม และ ความหมาย สถาบันการศึกษาออนไลน์ (Online institutions) สร้างสภาวะแวดล้อมที่ยืดหยุ่นต่อผู้เรียน (anywhere-anytime learning) บูรณาการความรู้ เทคโนโลยี จากหลายสาขาวิชา พัฒนาเนื้อหา และการนำเสนอสู่ผู้เรียน การเรียน การสอนแบบทางไกล
การเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1. Offline – stand alone CD – ROM Multimedia E-books CAI-Computer Assisted Instruction 2. Online - www WBI Web Based Instruction WBT Web Based Training 3. CAI On Web
1. 2. 3. 4. องค์ประกอบของ e-learning เนื้อหา ระบบบริหารการเรียน LMS : Learning Management System 2. การติดต่อสื่อสาร 3. การวัดผลการเรียน 4.
1. องค์ประกอบด้านเนื้อหา หน้าสรุป โฮมเพจ (Homepage) หน้าการทดสอบ หน้าแนะนำบทเรียนหรือรายวิชา หน้าการทดสอบ หน้าแนะนำผู้สอนผู้เรียน หน้าความรู้เพิ่มเติม หน้านำเสนอเนื้อหา News หน้าแบบฝึกหัด Assignment หน้ากิจกรรมเสริม FAQ
2. องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการ Learning Management System (LMS) การลงทะเบียนเรียน ระบบเข้าออกชั้นเรียน (Login/Logout) ฐานข้อมูลผู้เรียน การเตรียมเนื้อหาบทเรียน การเก็บผลคะแนน สถิติการเข้าเรียนและพฤติกรรมผู้เรียน ระบบการสืบค้น (Search)
3. องค์ประกอบด้านการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารแบบต่างเวลา (Asynchronous) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) กระดานข่าว (Web Board) การติดต่อสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous) ห้องสนทนา (Chat) การถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast)
4. องค์ประกอบด้านการวัดผลการเรียน แบบฝึกหัด แบบทดสอบ
บทเรียนทางคอมพิวเตอร์ เนื้อหา เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด ของ e-Learning หัวใจของเนื้อหา คือ บทเรียนทางคอมพิวเตอร์ (คอร์สแวร์) คอร์สแวร์ (Courseware) หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็น การเปลี่ยนรูปแบบจากเอกสารตำราให้อยู่ในรูปของบทเรียน ทางคอมพิวเตอร์
รูปแบบของ e-Learning Courseware Text / Image Interactive Simulation Game
e-Learning ลักษณะการนำเสนอเนื้อหา การนำเสนอแบบเน้นข้อความ การนำเสนอแบบมัลติมีเดียขั้นต้น การนำเสนอแบบมัลติมีเดียขั้นสูง
ตัวอย่าง การนำเสนอแบบเน้นข้อความ
ตัวอย่าง การนำเสนอแบบมัลติมีเดียขั้นต้น
ตัวอย่าง การนำเสนอแบบมัลติมีเดียขั้นสูง
การนำ e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน สื่อหลัก สื่อเสริม สื่อเติม
รูปแบบของผู้เรียนแบบ e-Learning ผู้เรียนปรกติ ผู้เรียนทางไกล
ประโยชน์ต่อผู้เรียน เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถและความสนใจ ” เลือกทบทวนหรือเรียนซ้ำในบทเรียนที่สนใจได้ตามต้องการ ค้นคว้าหาข้อมูลจากทั่วโลกเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ ทำการทดสอบและประเมินผลการเรียนได้ด้วยตนเอง
ประโยชน์ต่อผู้สอน สามารถสอนลูกศิษย์ได้ทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน ผู้สอนมีเวลาในการทำวิจัยค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น ได้แลกเปลี่ยนทัศนะกับบุคคลต่างๆ ทั่วโลกเพื่อนำมา ปรับปรุงเนื้อหา สามารถติดตามพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้
คำถาม จะพัฒนาสื่อการสอนแบบ e-Learning อย่างไร ?
ใช้ทฤษฎีระบบเพื่อออกแบบการสอน คำตอบ ใช้ทฤษฎีระบบเพื่อออกแบบการสอน Analysis Evaluation Design Implementation Development
กระบวนการผลิต e-Learning ใช้หลักการออกแบบการสอน Analysis วิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์องค์ประกอบ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
กระบวนการผลิต e-Learning ใช้หลักการออกแบบการสอน การออกแบบสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การออกแบบจอภาพ Design
กระบวนการผลิต e-Learning ใช้หลักการออกแบบการสอน การพัฒนา courseware ตามที่ผ่านการวิเคราะห์ Development
กระบวนการผลิต e-Learning ใช้หลักการออกแบบการสอน Implementation นำไปใช้จริง
กระบวนการผลิต e-Learning ใช้หลักการออกแบบการสอน การประเมินผลกายภาพสื่อ Evaluation การประเมินแบบทดลอง (tryout) ประเมินระหว่างดำเนินการ และประเมินผลภายหลัง
ขอบคุณครับ