การรับข้อมูล และ การแสดงผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
Pascal Programming Language โปรแกรมภาษาปาสคาล
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
การรับค่าและแสดงผล.
User Defined Simple Data Type
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผลและ รับข้อมูล. คำสั่ง Write เป็นคำสั่งที่นำข้อมูลที่ ต้องการแสดงผลที่ จอภาพเมื่อตอนสั่งรัน โปรแกรมไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลประเภทข้อความ ตัวเลข การ.
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
Repetitive Statements (Looping)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
SCC : Suthida Chaichomchuen
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับข้อมูล และ การแสดงผล บทที่ 5 การรับข้อมูล และ การแสดงผล

คำสั่งการรับข้อมูลจากที่เรียนมาแล้วมีดังนี้ :- คำสั่ง Read , Readln; คำสั่ง Readkey:char , KeyPressed : Boolean; **หมายเหตุ** ในกรณีที่ลืมรูปแบบการใช้คำสั่ง(syntax) ขณะที่ใช้ Virtual pascal สามารถพิมพ์คำสั่ง แล้วกดปุ่ม Ctrl + F1 หรือไปที่ Menu Help และเลือก Topic search จะมีหน้าต่างเล็กที่อธิบายคำสั่งพร้อมด้วยตัวอย่างง่ายๆ ประกอบการใช้คำสั่งนั้นๆ

คำสั่งการแสดงผลจากที่เรียนมาแล้วมีดังนี้ :- คำสั่ง Write , Writeln; ในกรณีที่ต้องการที่จะแสดงผลออกทางเครื่องพิมพ์ให้ใช้คำ ‘LST’ เช่น Writeln(‘LST’ , ‘Pascal programming’); เป็นต้น ในกรณีที่มีเลขทศนิยมและต้องการที่จะแสดงผลรับที่ประกอบด้วยเลขจำนวนเต็มและจำนวนหลักของเลขทศนิยม สามารถใช้เลขบอกจำนวนหลักหลังตัวแปรนั้นๆคั่นด้วยตัว : เช่น x := 123.456789; Writeln(‘ ผลลัพธ์ = ’ , x:5:2 ); บนจอภาพจะแสดงข้อความ ผลลัพธ์ = 123.46 เป็นต้น

คำสั่งการจัดรูปแบบรายงานบนจอภาพ การใช้ Unit CRT; 1. Clrscr; // เป็นฟังก์ชันลบข้อความบนจอภาพออกทั้งหมด 2. ClrEol; // เป็นฟังก์ชันลบข้อความบนจอภาพออกเฉพาะบรรทัดนั้น 3. GotoXY(x,y:Byte); // เป็นฟังก์ชันที่ให้ตัวชี้ไปที่ตำแหน่ง x,y 4. TextMode (mode: integer); // เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยน Mode การแสดงผลบนจอภาพ เช่น TextMode(CO80); หรือ TextMode(3); CRT modes: BW40 = 0; 40x25 B/W on Colour Adapter CO40 = 1; 40x25 Colour on Colour Adapter BW80 = 2; 80x25 B/W on Colour Adapter CO80 = 3; 80x25 Colour on Colour Adapter Mono = 7; 80x25 on Monochrome Adapter Font8x8 = 256; Add-in for 8x8 font

4. TextColor(parameter); parameter = color : Byte // เป็นฟังก์ชันที่ทำให้สีของข้อความหรือผลลัพธ์ที่แสดงบนจอภาพเปลี่ยนไปตามที่ต้องการ Foreground colour constants: DarkGray = 8; LightBlue = 9; LightGreen = 10; LightCyan = 11; LightRed = 12; LightMagenta = 13; Yellow = 14; White = 15; Add-in for blinking: Blink = 128; เช่น TextColor(White ); 5. TextBackground(parameter); parameter = color : Byte // เป็นฟังก์ชันที่ทำให้สีที่ฉากหลังของข้อความหรือผลลัพธ์ที่แสดงบนจอภาพเปลี่ยนไปตามที่ต้องการ Foreground and background colour constants: Black = 0; Blue = 1; Green = 2; Cyan = 3; Red = 4; Magenta = 5; Brown = 6; LightGray = 7; เช่น TextBackground(Cyan); หรือ TextBackground(3);

ตัวอย่าง PROGRAM Demo_ASCII_by_FOR_Statement; USES CRT; VAR count, num : INTEGER; BEGIN FOR count := 32 to 255 DO num := count mod 12; WRITE(' ', count:3); TextColor(num); TextBackground(num + 2); WRITE(' ', CHR(count)); END; END.

การบ้าน ข้อที่ 7. จงเขียนโปรแกรมภาษา Pascal เพื่อแสดงรายการเป็นข้อๆ(Menu) และสามารถให้เลือกข้อที่ต้องการได้ โดยใช้คำสั่งการจัดหน้าจอภาพให้ดูสวยงามและสบายตา 1. คำนวณหาพื้นที่วงกลม 2. คำนวณดอกเบี้ยเงินฝาก 3. คำนวณหา grade โดยใช้คำสั่ง if 4. คำนวณหา grade โดยใช้คำสั่ง case 5. การบ้าน คำสั่ง For 6. การบ้าน คำสั่ง While 7. การบ้าน คำสั่ง Repeat 9. ออกจาก Menu คุณเลือกหมายเลข :-