ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
ครูที่ปรึกษา อ. สุทิน ขำการ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
หนังสือไร้กระดาษ.
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงการรถยนต์คันแรกกับภาษีสรรพสามิตรถยนต์
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
รายวิชา GEL1101 การใช้ภาษาไทย ช่วงที่ 1 นำเสนอโครงงาน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
การจดรายงานการประชุม
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
สรุปการอบรมและภารกิจต่อเนื่อง การแลกเปลี่ยน ข้อมูล ข้อคำถาม และข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ๑.ขอความร่วมมือให้หน่วยงานเผยแพร่ ข้อมูล / ข่าวสาร การบริหาร.
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
ข้อมูลและสารสนเทศ จัดทำโดย ด.ญ.จารุรัตน์ เสียงโต ม.1.2 เลขที่ 8 นำเสนอ คุณครู กวีวรรณ เดชปักษ์ โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย.
E-Portfolio.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์ Walailak Hall of Fame โดย นางสาวอาภรณ์ ไชยสุวรรณ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ที่มา ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดทำโครงการประวัติศาสตร์คำบอกเล่าจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำหนังสือประวัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และได้จัดทำเป็นฐานข้อมูล โดยรวบรวมเนื้อหาจากการ ศึกษาค้นคว้าและการสัมภาษณ์จากบุคคลที่เป็นปูชนีย์วลัยลักษณ์ และปูชนียาจารย์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นการสัมภาษณ์จากบุคคลที่มีความสำคัญต่อมหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ในช่วงการก่อตั้งมหาวิทยาลัยและจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยในบทบาทที่เคยบริหารงานมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในยุคบุกเบิก จำนวน 18 คน เรียกว่า ปูชนีย์วลัยลักษณ์ และกลุ่มอาจารย์ที่เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยที่เริ่มปฏิบัติงานในช่วงการก่อตั้งมหาวิทยาลัย และพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานแล้ว เช่น ลาออก เกษียณอายุ จำนวน 18 คน เรียกว่า ปูชนียาจารย์

หลักการและเหตุผล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่เกิดจากการเรียกร้องเพื่อให้มีมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ถือเป็นการพลิกฟื้นพื้นที่สู่เมืองมหาวิทยาลัย โดยมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ซึ่งมหาวิทยาลัยในยุคก่อตั้งเป็นช่วงเวลาของการระดมแรงกาย แรงใจ และพลังความคิด เพื่อผลักดันภารกิจต่าง ๆ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ที่วางไว้ ทั้งนี้ภารกิจต่าง ๆ สามารถปรากฏเป็นรูปธรรมขึ้นได้ ก็ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจ และความทุ่มเทของผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นบุคคลภายในอย่างคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ตลอดจนบุคคลภายนอก ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ มีความรับผิดชอบเกี่ยวข้องกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดังนั้นการจัดเก็บประวัติส่วนตัว ประวัติการทำงานและแนวคิดของบุคคลเหล่านี้ เป็นสิ่งที่มีค่ายิ่งต่อประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถ เผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และรูปแบบของฐานข้อมูลจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของ การจัดเก็บ และเผยแพร่

หลักการและเหตุผล โดยรวบรวมเนื้อหาจากการศึกษาค้นคว้าและการสัมภาษณ์จากบุคคลที่มีความสำคัญต่อมหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ในช่วงการก่อตั้งมหาวิทยาลัย ได้แก่ ปูชนีย์วลัยลักษณ์ ที่เป็นผู้บริหารหรือบุคคลภายนอกซึ่งมีส่วนสำคัญและได้ทุ่มเทเวลา กำลังใจ กำลังกายที่มีต่อการบุกเบิกและก่อตั้งมหาวิทยาลัย ปูชนียาจารย์ นั้น จะเป็นกลุ่มของคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยซึ่งมีส่วน ต่อการก่อตั้งและพัฒนามหาวิทยาลัยจนก้าวไกล เติบโตได้เช่นที่เป็นปัจจุบัน

เกณฑ์การพิจารณา เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก “ปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์” นั้น จะพิจารณาจากผู้มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นหลัก สำหรับกลุ่มบุคคลที่เป็น “ปูชนีย์วลัยลักษณ์” นั้น จะต้อง เป็นผู้บริหารหรือบุคคลภายนอกซึ่งมีส่วนสำคัญและได้ทุ่มเทเวลา กำลังใจ กำลังกายที่มีต่อการบุกเบิกและก่อตั้งมหาวิทยาลัย จาก “คณะกรรมการรณรงค์เพื่อให้มีมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช” ซึ่งเป็นคณะบุคคลที่มีบทบาทหลักในการดำเนินการเรียกร้องให้มีมหาวิทยาลัยที่นครศรีธรรมราช

เกณฑ์การพิจารณา “ปูชนียาจารย์” นั้น จะต้อง เป็นผู้มีส่วนร่วมสำคัญในการบุกเบิกหรือก่อตั้งหน่วยงานของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้เกษียณอายุการทำงานจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ๒. เป็นผู้ปฏิบัติงานในช่วงบุกเบิกของมหาวิทยาลัย ๓. กรณีที่ออกจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์โดยมิได้เกษียณอายุการทำงาน ต้องเป็นผู้ที่ปฏิบัติงานกับมหาวิทยาลัยเป็นระยะเวลานานกว่า ๕ ปี หรือ ๔. เป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยซึ่งปฏิบัติงานตามวาระ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีฐานข้อมูลจากประวัติศาสตร์คำบอกเล่าจากบุคคลที่มีความสำคัญต่อมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อเผยแพร่ประวัติความเป็นมาจากการประวัติศาสตร์คำบอกเล่าสำหรับจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 1. ที่ประชุมคณะทำงานจัดทำหนังสือประวัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พิจารณาคัดเลือกรายชื่อกลุ่มบุคคลปูชนีย์วลัยลักษณ์ และปูชนียาจารย์ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 36 คน ปูชนีย์วลัยลักษณ์ จำนวน 18 คน ปูชนียาจารย์ จำนวน 18 คน

๑๘ ปูชนีย์วลัยลักษณ์

๑๘ ปูชนียาจารย์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 2. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาและข้อมูลอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 3. สืบค้นรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่อยู่/สถานที่ทำงาน พร้อมนัดวัน เวลา และสถานที่ที่ผู้ให้สัมภาษณ์สะดวก

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 4. นัดวันสัมภาษณ์ พร้อมบันทึกเสียงคำสัมภาษณ์ บันทึกภาพนิ่ง และวีดิทัศน์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 5. ดำเนินการสัมภาษณ์ตามหัวข้อที่กำหนดไว้ พร้อมบันทึกเสียงการสัมภาษณ์ บันทึกภาพเคลื่อนไหวตลอดการสัมภาษณ์ และบันทึกภาพนิ่งของผู้ให้ สัมภาษณ์ เพื่อนำมาประกอบในการจัดทำหนังสือประวัติมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์และฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ถอดเทปจากการสัมภาษณ์อย่างละเอียด สรุปคำสัมภาษณ์ตามหัวข้อที่ระบุ ออกแบบฐานข้อมูล โดยแบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูลย่อย คือ ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ฐานข้อมูลปูชนียาจารย์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 9. ออกแบบค่าเริ่มต้นของฐานข้อมูล ดังนี้ 9.1 การกำหนดค่าเริ่มต้น ได้แก่ กำหนดกลุ่มข้อมูล ไฟล์ข้อมูลประกอบ ตำแหน่ง 9.2 ข้อมูลผู้ใช้ แยกตามระดับสิทธิ์ในการเข้าถึง และการเพิ่ม และแก้ไขข้อมูล

ตัวอย่าง

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 9.3 รายการข้อมูล - ประวัติส่วนตัว ได้แก่ ลำดับ : ชื่อ-นามสกุล : รหัสพนักงาน : ภาพถ่าย : วันเกิด : วันที่เริ่มปฏิบัติงาน : ตำแหน่งที่เคยปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : คำสำคัญ : ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย (ปี เดือน วัน) : ประวัติการศึกษา : ประวัติการทำงาน : บทบาทต่อมหาวิทยาลัย :

ตัวอย่าง

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 9.3 รายการข้อมูล (ต่อ) - ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ผลงานที่ประทับใจ : แนวคิดหรือปรัชญาที่ใช้ในการทำงาน : ความประทับใจความคาดหวังที่มีต่อมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : การตัดสินใจมาทำงานที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : การดำเนินงานที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : อนาคตของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : การเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : อื่น ๆ :

ตัวอย่าง

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ไฟล์ประกอบ ได้แก่ ภาพประกอบ วีดิทัศน์ประกอบ เอกสารประกอบ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 9.4 การออกแบบสำหรับการสืบค้น สำหรับการค้นหาแบบละเอียด โดยการ - สืบค้นจากกลุ่มข้อมูล ชื่อและนามสกุล และคำสำคัญ - สืบค้นจากกลุ่มปูชนีย์วลัยลักษณ์ - สืบค้นจากกลุ่มปูชนียาจารย์ - สืบค้นจากชื่อบุคคล

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 10. เพิ่มข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่กำหนด 11. สืบค้นข้อมูลตามที่ได้ออกแบบ 11. เผยแพร่ให้บุคลากรและสาธารณชนได้รับทราบ

การแสดงผลการสืบค้น ผลที่ได้จากการสืบค้นนั้น มีรายละเอียดดังนี้ ผลที่ได้จากการสืบค้นนั้น มีรายละเอียดดังนี้ - ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของบุคคลที่สืบค้น มีภาพประกอบ เอกสารประกอบ และวิดีโอประกอบ สำหรับวีดิโอนั้น จะเป็น การเลือกคำพูดที่กินใจ หากตอนไหนที่เอ่ยถึงบุคคลในฐานข้อมูล หรือหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สามารถเชื่อมต่อไปยังบุคคล หรือเว็บไซต์นั้นได้ทันที (hyperlink) มีภาพประกอบที่เกี่ยวข้องแทรกในเนื้อหา - มีการอ้างอิงเนื้อหา หากนำเนื้อหามาจากแหล่งอื่น

สรุปผล และข้อเสนอแนะ ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์ เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมประวัติ ผลงาน และแนวคิดของบุคคลที่มีบทบาทในการผลักดัน ก่อตั้ง บุกเบิกและพัฒนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีประวัติการก่อตั้งที่ใช้เวลาระยะยาวนานในการเรียกร้อง กว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และเป็นช่องทางในการเผยแพร่เกียรติคุณในรูปแบบของเนื้อหา รูปภาพ และสื่อเคลื่อนไหว เกี่ยวกับกิจกรรมและผลงานที่ผ่านมาของบุคคลเหล่านี้ ซึ่งเปรียบเสมือนบุคคลที่มีบุญคุณและควรยกย่องและอยู่คู่กับมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ตลอดไป และสามารถจัดทำฐานข้อมูลในลักษณะนี้ได้อีก เช่น ฐานข้อมูลบุคคลที่เกษียณอายุ ทำเนียบนามผู้บริหาร เป็นต้น

ประโยชน์และคุณค่าต่อการนำไปปรับใช้ในงานห้องสมุด ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์ เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมประวัติ ผลงาน และแนวคิดของบุคคลที่มีบทบาทในการผลักดัน ก่อตั้ง บุกเบิกและพัฒนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีประวัติการก่อตั้งที่ใช้เวลาระยะยาวนานในการเรียกร้อง กว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และเป็นช่องทางในการเผยแพร่เกียรติคุณในรูปแบบของเนื้อหา รูปภาพ และสื่อเคลื่อนไหวเกี่ยวกับกิจกรรมและผลงานที่ผ่านมาของบุคคลเหล่านี้ ซึ่งเปรียบเสมือนบุคคลที่มีบุญคุณและควรยกย่องและอยู่คู่กับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ตลอดไป

ขอบคุณค่ะ