อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Priciples of Marketing
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การจัดการบริการสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
อดีตบอกอะไรเกี่ยวกับอนาคต ตัวแปรอะไรที่จำกัดหรือรักษา ความต่อเนื่องของแนวโน้ม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
หลักการเขียนโครงการ.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข ผู้ใช้สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

หน่วยที่ 4 4. การใช้สารสนเทศ 4.1 แนวคิดเรื่องการใช้สารสนเทศ 4.2 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์

4.1 แนวคิดเรื่องการใช้สารสนเทศ การใช้สารสนเทศ (Information Use) เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ผู้ใช้ดำเนินการต่อจากการมีพฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) และความต้องการสารสนเทศ (Information Need)

4.1 แนวคิดเรื่องการใช้สารสนเทศ (ต่อ) Model พฤติกรรมสารสนเทศ (Information Behavior) ของวิลสัน (Wilson) ที่สร้างขึ้นในปี ค.ศ.1981 ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ผู้ใช้สารสนเทศ (Information Users) เกิดความต้องการสารสนเทศ (Information Need)

จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) โดยผู้ใช้ค้นจากระบบสารสนเทศ(Demands on Information System) หรือจากแหล่งสารสนเทศอื่นๆ (Demands on other Information Sources) การค้นหานี้อาจประสบความสำเร็จ (Success)

หรือล้มเหลว (Failure) ทำให้ต้องกลับไปสู่การค้นหาใหม่ จากนั้นจึงนำไปสู่การใช้สารสนเทศ (Information Use) ซึ่งอาจทำให้ผู้ใช้พึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ (Satisfaction or non-satisfaction) ความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจอาจกระตุ้นให้เกิดความต้องการสารสนเทศได้อีก พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศดังกล่าว

เชื่อมโยงกับการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (Information Exchange) การถ่ายทอดสารสนเทศ (Information Transfer) ซึ่งวิลสันชี้ให้เห็นว่าการใช้สารสนเทศเป็นส่วนที่มีการศึกษาวิจัยมากกว่าส่วนอื่นๆ ของ Model

Information User Need Satisfaction or Non-satisfaction Information- Seeking Behavior Information Exchange Information Use Demands on Information Systems Demands on Other Information Sources Other People Success Failure Information Transfer

การศึกษาเกี่ยวกับการใช้สารสนเทศครอบคลุมการใช้บริการสารสนเทศซึ่งอาจเน้นที่ตัวผู้ใช้ ระบบสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ใคร ใช้อะไร มีวัตถุประสงค์ใด ใช้อย่างไร การใช้ห้องสมุด/ ระบบสารสนเทศ/ สารสนเทศ มีผลกระทบต่อผู้ใช้อย่างไร โดยมีตัวแปรต่างๆ เช่น อายุ ระดับการศึกษา สาขาอาชีพ สภาพแวดล้อมทางการงาน เป็นต้น

การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้เป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับการใช้สารสนเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการสำรวจความคิดเห็นที่ผู้ใช้มีต่อบริการสารสนเทศ การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การวัดคุณภาพของสารสนเทศที่เป็นผลลัพท์จากระบบ เช่น ความถูกต้อง ความเข้าเรื่อง ความสมบูรณ์ ความทันการ เป็นต้น

4.2 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์ 4.2 การใช้สารสนเทศในสภาพแวดล้อม ทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันการแปลงเอกสารให้อยู่ในรูปดิจิทัลได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว โครงการดิจิทัลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่เป็นเชิงพาณิชย์และโครงการของรัฐระดับชาติหรือระดับท้องถิ่น

อินเทอร์เน็ตคือแหล่งสารสนเทศลำดับแรกที่ผู้ใช้คาดหวังว่าจะสามารถหาสารสนเทศที่เชื่อถือได้ ผู้แสวงหาสารสนเทศจึงมักเริ่มต้นค้นหาสารสนเทศจากเว็บไซต์ การผลิตหนังสือและวารสารในรูปสิ่งพิมพ์ลดลงและเปลี่ยนเป็น Print – on – Demand

ทำอย่างไรสถาบันบริการสารสนเทศจึงจะจัดบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ภายใต้ข้อจำกัดต่างๆได้ เช่น งบประมาณลดลงหรือคงที่ ระบบสารสนเทศใช้ยาก ผู้ใช้ขาดทักษะในการใช้ระบบ